กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง


“ โครงการป้องกันการจมน้ำภายในกลุ่มเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นายฐกร ยศมาภัทรชัย

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการจมน้ำภายในกลุ่มเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการจมน้ำภายในกลุ่มเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการจมน้ำภายในกลุ่มเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการจมน้ำภายในกลุ่มเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถิติเด็กจมน้ำเสียชีวิตในแต่ละปีมีจำนวนมากมายจนไม่สามารถป้องกันได้ เนื่องมาจากปัญหาเด็กว่ายน้ำไม่เป็นและไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองและผู้อื่นได้ ส่วนใหญ่เด็กจมน้ำเสียชีวิตมักจะเกิดเหตุในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อนของทุกปี เพราะในพื้นที่ชนบทมักจะมีแหล่งน้ำมากมาย ทั้งที่เป็นแหล่งน้ำจากธรรมชาติและแหล่งน้ำที่ขุดขึ้นใหม่ เพื่อเป็นการแก้ปัญหาภัยแล้ง จึงต้องมีแหล่งน้ำเพื่อกักเก็บน้ำเอาไว้ใช้ในหน้าแล้ง แต่อากาศร้อนจัดทำให้เด็ก ๆ ในชนบทมักจะอาศัยแหล่งน้ำต่าง ๆ เป็นที่คลายร้อน และเป็นที่เล่นสนุกสนานกัน
จึงเป็นจุดเสี่ยงที่จะเกิดเหตุการณ์เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ และในตำบลท่านั่งมีแม่น้ำยมตัดผ่านกลางหมู่บ้าน มีน้ำคลองชลประทาน และแหล่งน้ำต่าง ๆ อีกหลายแห่ง การแก้ปัญหาดังกล่าวโรงเรียนบ้านวังแดง จึงได้จัดโครงการป้องกันการจมน้ำภายในกลุ่มเด็กวัยเรียน” ขึ้น ในช่วงก่อนที่โรงเรียนจะปิดเรียนภาคฤดูร้อน ด้วยทางโรงเรียนบ้านวังแดง มีเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ 1 ราย ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2566 ปัจจุบันเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี หากเด็กสามารถว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้จะช่วยป้องกันการจมน้ำได้มากกว่าเด็กที่ไม่สามารถว่ายน้ำได้ ดังนั้นการฝึกทักษะการว่ายน้ำ ทักษะความปลอดภัยทางน้ำให้แก่เด็กจึงจำเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยและป้องกันเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจง ครู บุคลากรในโรงเรียน เพื่อกำหนดกรอบวิธีการดำเนินงาน
  2. เสนอโครงการขอรับเงินสนับสนุนงบประมาณ
  3. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สำหรับทำโครงการ
  4. ติดต่อประสานงานวิทยากร และผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
  5. จัดสถานที่สำหรับจัดกิจกรรม ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายทราบถึงวัน เวลา และสถานที่การจัดกิจกรรม ขั้นตอนการดำเนินการ รูปแบบการดำเนินกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 56
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำเป็นพ้นฐานที่ดี และถูกต้อง
  2. นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำการช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ
  3. นักเรียนสามารถประเมินความเสี่ยงจากสถานที่ สถานการณ์ที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุจมน้ำเสียชีวิตได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 56
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 56
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจง ครู บุคลากรในโรงเรียน เพื่อกำหนดกรอบวิธีการดำเนินงาน (2) เสนอโครงการขอรับเงินสนับสนุนงบประมาณ (3) จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สำหรับทำโครงการ (4) ติดต่อประสานงานวิทยากร และผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด (5) จัดสถานที่สำหรับจัดกิจกรรม ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายทราบถึงวัน เวลา และสถานที่การจัดกิจกรรม ขั้นตอนการดำเนินการ รูปแบบการดำเนินกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการจมน้ำภายในกลุ่มเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฐกร ยศมาภัทรชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด