กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่


“ กิจกรรมดนตรี กีฬา ต้านภัยยาเสพติด ”

ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม

ชื่อโครงการ กิจกรรมดนตรี กีฬา ต้านภัยยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8405 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 1 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"กิจกรรมดนตรี กีฬา ต้านภัยยาเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
กิจกรรมดนตรี กีฬา ต้านภัยยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " กิจกรรมดนตรี กีฬา ต้านภัยยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L8405 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 1 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยรัฐบาลกำหนดให้การป้องกันและปราบปรามปัญหายาเสพติดเป็นประเด็นสำคัญภายใต้แผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ประเด็นความมั่นคง โดยมาตรการป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษามีการดำเนินงานภายใต้ 2 มาตรการหลัก คือ (1) การสร้างการรับรู้เพื่อการป้องกันยาเสพติด ที่หลากหลายช่องทางในสถานศึกษา เน้นกลุ่มเยาวชนอายุระหว่าง 15-24 ปี ควบคู่กับการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในทุกช่วงวัย(ตั้งแต่ปฐมวัย - อุดมศึกษา) ภายใต้แนวคิด "Save Zone, NO New Face พื้นที่ ปลอดภัย ไม่มีคนหน้าใหม่ เพราะคนรุ่นใหม่ ไม่ใช่ยาเสพติด และ (2) การปรับสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม มุ่งให้เกิดพื้นที่ปลอดภัยสำหรับเด็กและเยาวชน เน้นสร้างการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด จากทุกภาคส่วน โดยส่วนใหญ่คนหน้าใหม่ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดมักเริ่มต้นจากการสูบบุหรี่ การดำเนินงาน สถานศึกษาปลอดบุหรี่เป็นการป้องกันเด็กและเยาวชนให้รู้เท่ากันของพิษภัยของสารเสพติด อีกทั้งกรเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วความล้าสมัยของเทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนต้องมีการปรับตัว รู้เท่าทันต้องมีวิจารณญาณในการตั้งรับกับกระแสสังคมยุคใหม่ เพื่อให้การดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการ กำหนดนโยบายในการเสริมสร้างทักษะการดำรงชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3 ด้าน คือ ยึดมั่นประชาธิปไตย มีคุณธรรมความเป็นไทย และห่างไกลยาเสพติด โดยมุ่งเน้นให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียน มีแนวทางกิจกรรม คือ เป็นกิจกรรมเชิงลึก ที่นำไปสู่ผลสัมฤทธิ์ ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดมโนสำนึก รู้ผิดชอบชั่วดี มีวิถีปฏิบัติอันดีงามในชีวิตจริง และมีส่วนร่วม กิจกรรมอย่างจริงจัง ให้ครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เรียนรู้และยึดถือปฏิบัติในวิถีชีวิต สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดการขับเคลื่อนนโยบายการป้องกันและปก้ไข ปัญหายาเสพติด ปี 2565 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันในเด็กและเยาวชนแต่ละช่วงวัยอย่างเหมาะสม ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนและเสริมกิกรรมนอก หลักสูตรที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย เพื่อป้องกันการเข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหา ยาเสพติด ทั้งให้สอดคล้องเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายในแต่ละกลุ่มทั้งกลุ่มเด็ก/เยาวชน และกลุ่มแรงงาน เพื่อให้เกิ ดความรู้ความคิด และทักษะที่เหมาะสมในการไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติด ทั้งสอดคล้องเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ในการไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติด ทั้งในด้านการใช้และการใช้และการค้ายาเสพติดโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา และตามนโยบาย ของสำนักงานคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเน้นการดำเนินงานในกลุ่มเป้าหมายวัย เสี่ยงสูงอายุ 15-24 ปี เป็นลำดับแรก ควบคู่กับการส่งเสริมให้เกิดการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด อย่างต่อเนื่องในช่วงวัยอื่นๆ ด้วยมาตรการที่เหมาะสมกับช่วงวัยและบริบทพื้นที่ (สร้างการรับรู้ สร้าง ภูมิคุ้มกัน และสร้างพื้นที่ปลอดภัย) ดังนั้น เพื่อให้การขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าวบังเกิดผลเป็นรูปธรรม และเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม เสริมทักษะชีวิต ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสุานศึกษา และพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์ให้แก่ นักเรียน ในสังกัดโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคมสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
  2. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะชีวิตในการป้องกันปัญหายาเสพติดและลดพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมดนตรี กีฬา ต้านภัยยาเสพติด
  2. กิจกรรมดนตรี กีฬา ต้านภัยยาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. โรงเรียนกาดใหญ่พิทยาคม มีการขับเคลื่อนการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
  2. โรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม มีมาตรการในการเฝ้าระวัง/ป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและลดพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์ อย่างเป็นรูปธรรม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถร่วมกันลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์และป้องกันไม่ให้มีมิ่งเสพติดในสถานศึกษา

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีทักษะชีวิตในการป้องกันปัญหายาเสพติดและลดพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : -

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา (2) เพื่อให้นักเรียนมีทักษะชีวิตในการป้องกันปัญหายาเสพติดและลดพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมดนตรี กีฬา ต้านภัยยาเสพติด (2) กิจกรรมดนตรี กีฬา ต้านภัยยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


กิจกรรมดนตรี กีฬา ต้านภัยยาเสพติด จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8405

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้อำนวยการโรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด