กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง


“ โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางศศิรัตน์ สะราคำ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,472.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระแสแห่งการพัฒนาการสาธารณสุขและสุขภาพได้มีการให้ความหมายของคำว่า สุขภาพ ให้มีความหมายกว้างขวางขึ้นไม่ให้มุมมองมิติเดียวที่เกี่ยวกับการเจ็บป่วย แพทย์ พยาบาล การสาธารณสุข โรงพยาบาล ยารักษาโรค เท่านั้น มีการบูรณาการความหมายครอบคลุมการพัฒนามนุษย์และสังคมทั้งหมด สุขภาพจึงได้รับการให้ความหมายที่กว้างครอบคลุมเรื่องสุขภาวะทางกาย ทางใจ ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ (ปัญญา) สุขภาพหรือสุขภาวะก็คือสภาพที่ผู้คน “อยู่เย็น-เป็นสุข” ด้วยกัน โดยคำว่าสุขภาพ คือ ไม่ใช่มุ้งเน้นสุขภาพส่วนบุคคลเท่านั้น แต่มีความหมายถึงระดับตามการดำรงอยู่ของบุคคล ได้แก่ 1.ระดับบุคคล หมายถึง 4 องค์ประกอบ คือ สุขภาพกาย-สุขภาพจิต-สุขภาพสังคม และสุขภาพศีลธรรมของแต่ละคน 2.ระดับครอบครัว หมายถึง สุขภาพทั้ง 4 องค์ประกอบของครอบครัว 3.ระดับชุมชน-ประเทศ หมายถึง สุขภาพทั้ง 4 องค์ประกอบของชุมชนหรือประเทศ และ4.ระดับสากล-นานาประเทศ หมายถึง สุขภาพทั้ง 4 องค์ประกอบในระดับสากลการตรวจคัดกรองสุขภาพ หมายถึง การตรวจคัดกรองผู้ที่ยังไม่มีอาการหรือการเจ็บป่วยใดๆ เพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยงหรือโรคในระยะเริ่มแรก ซึ่งจะนำไปสู่การป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่เนิ่นๆ รวมทั้งการรับวัคซีนป้องกันโรคที่เหมาะสมและความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ความหมายของ “การตรวจสุขภาพ” จะไม่รวมถึงการตรวจผู้ที่มาขอปรึกษาแพทย์ด้วยอาการผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือตรวจผู้ที่มีโรคหรือภาวะเรื้อรังอยู่แล้วเพื่อหาภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เป็นอยู่เดิม การตรวจทั้งสองลักษณะดังกล่าวถือเป็น “การตรวจรักษาโรค” ซึ่งต้องพบแพทย์ เพื่อซักประวัติและตรวจร่างกายเป็นลำดับแรกก่อน ดังนั้น ควรตรวจคัดกรองสุขภาพเป็นประจำทุกปีจากการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังในตำบลท่านั่งในปีงบประมาณ 2565 ซึ่งมีเป้าหมายเป็นประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ต้องได้รับการคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรัง พบว่า กลุ่มที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตทั้งหมด จำนวน 1,241 คน เสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 422 คน ร้อยละ 34 สงสัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 143 คน ร้อยละ 11.52 และกลุ่มที่ได้รับการคัดกรองเบาหวานทั้งหมด จำนวน 1,556 คน เสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 844 คน ร้อยละ 54.24 สงสัยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 5 คน ร้อยละ 0.32 จากการคัดกรองจะเห็นว่าประชาชนส่วนใหญ่มีแนวโน้มที่จะเป็นโรคเรื้อรังที่สามารถป้องกันโรคได้ด้วยตนเองเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่านั่ง จึงเห็นความสำคัญของการคัดกรองโรคเรื้อรัง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอขออนุมติ
  2. กิจกรรมจัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2566
  3. กิจกรรมอบรมฟื้นฟู ความรู้ในการปฏิบัติงานตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป ให้กับกลุ่ม อสม.ผู้ปฏิบัติงาน
  4. ปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติงานฯ โดยให้ อสม. นัดประชากรกลุ่มเป้าหมายเพื่อคัดกรองในระดับหมู๋บ้าน/ชุมชน
  5. กิจกรรม อสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกให้บริการตรวจคัดกรองสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ลดอัตราการเจ็บป่วยและการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้
ผู้ป่วยรายใหม่ได้รักษาอย่างรวดเร็วถูกต้องตามสภาวะโรค
ประชาชนสามารถประเมินสภาวะสุขภาพของตนเองได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอขออนุมติ (2) กิจกรรมจัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2566 (3) กิจกรรมอบรมฟื้นฟู ความรู้ในการปฏิบัติงานตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป ให้กับกลุ่ม อสม.ผู้ปฏิบัติงาน (4) ปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติงานฯ โดยให้ อสม. นัดประชากรกลุ่มเป้าหมายเพื่อคัดกรองในระดับหมู๋บ้าน/ชุมชน (5) กิจกรรม อสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกให้บริการตรวจคัดกรองสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศศิรัตน์ สะราคำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด