กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา


“ โครงการครรภ์คุณภาพ สู่คนคุณภาพ ประจำปี 2567 ”

ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา กาฬแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการครรภ์คุณภาพ สู่คนคุณภาพ ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2979-1-03 เลขที่ข้อตกลง 67-L2979-1-03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการครรภ์คุณภาพ สู่คนคุณภาพ ประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการครรภ์คุณภาพ สู่คนคุณภาพ ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการครรภ์คุณภาพ สู่คนคุณภาพ ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L2979-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,670.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศให้มีความยั่งยืนในทุกด้าน ประการสำคัญคือการพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้นการเริ่มต้นตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิในครรภ์ จึงเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาเด็กในครรภ์ให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคตการฝากครรภ์ถือเป็นจุดเริ่มต้นการดูแลตั้งแต่อยู่ในครรภ์ และต้องเป็นการฝากครรภ์คุณภาพ นั้นคือต้องมีการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และต้องฝากครรภ์อย่างน้อย8 ครั้ง ตลอดระยะการตั้งครรภ์ เพื่อให้มารดาและทารกได้รับการบริการทางสุขภาพที่ครบถ้วนและดีที่สุด ในช่วงระหว่างตั้งครรภ์ ซึ่งก็จะส่งผลต่อเนื่องไปจนถึง ระยะคลอด ระยะหลังคลอด เมื่อลืมตาดูโลกมาแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม เพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต ปัจจุบัน จากรายงานข้อมูลอนามัยแม่และเด็กของตำบลทุ่งพลา ปีงบประมาณ 2566 พบว่า 1) พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงตั้งครรภ์ สามี ญาติ ในขณะตั้งครรภ์การฝากครรภ์ไม่ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพคิดเป็นร้อยละ 6.672) หญิงตั้งครรภ์ไม่ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ66.67 และ 3) แม่ตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปีมี คิดเป็นร้อยละ 6.67 (1 ราย)4) น้ำหนักทารกแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม จำนวน คิดเป็นร้อยละ 15.79 (3 ราย) รวมทั้งจากการวิเคราะห์ข้อมูลการสอบถามเชิงลึก พบว่า 1) การไม่ทราบว่าตนเองตั้งครรภ์ เพราะไม่มีอาการของคนตั้งครรภ์ เช่น เวียนศีรษะ คลื่นไส้จึงคิดว่าตนเองไม่ได้ตั้งครรภ์ ทำให้มาฝากครรภ์ช้า 2) หญิงตั้งครรภ์ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฝากครรภ์และภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ รวมทั้งไม่ได้วางแผนการตั้งครรภ์จึงไม่ได้มาฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง ปัญหาเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญ ที่มีผลต่อสุขภาพทั้งทางกายและจิตใจของมารดาที่ตั้งครรภ์ ส่งผลให้มารดาที่ตั้งครรภ์เจ็บป่วยและคลอดก่อนกำหนด และทารกที่คลอดมีสุขภาพไม่แข็งแรงและมีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม และนำไปสู่คนไม่มีคุณภาพต่อไปได้
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลาได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาที่เกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิด เพื่อให้ลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่จะเกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์ และให้ทารกที่คลอดมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการครรภ์คุณภาพ สู่คนคุณภาพ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลฝากครรภ์คุณภาพ 8ครั้งตามเกณฑ์
  3. มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์
  4. ทารกแรกเกิด มีน้ำหนักเท่ากับหรือมากกว่า 2500 กรัม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมครรภ์คุณภาพ สู่คนคุณภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 45
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ไม่น้อยกว่า 75 % 2.หญิงตั้งครรภได้รับการดูแลฝากครรภ์คุณภาพ 8 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 50% 3.มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่า 75% 4.ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักเท่ากับหรือมากกว่า 2500 กรัมไม่เกิน 7 %


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)
50.00 75.00

 

2 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลฝากครรภ์คุณภาพ 8ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละหญิงตั้งครรภได้รับการดูแลฝากครรภ์คุณภาพ 8 ครั้งตามเกณฑ์
30.00 50.00

 

3 มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละมารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์
50.00 75.00

 

4 ทารกแรกเกิด มีน้ำหนักเท่ากับหรือมากกว่า 2500 กรัม
ตัวชี้วัด : ร้อยละทารกแรกเกิด มีน้ำหนักเท่ากับหรือมากกว่า 2500 กรัม
5.00 7.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 45
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลฝากครรภ์คุณภาพ 8ครั้งตามเกณฑ์ (3) มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์ (4) ทารกแรกเกิด มีน้ำหนักเท่ากับหรือมากกว่า 2500 กรัม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมครรภ์คุณภาพ สู่คนคุณภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการครรภ์คุณภาพ สู่คนคุณภาพ ประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2979-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปรีชา กาฬแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด