กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ”

อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุทธิพงค์ รักษ์พันธ์ สาธารณสุขอำเภอกงหรา

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE

ที่อยู่ อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2567 - L3309 - 1 - 1 เลขที่ข้อตกลง 19/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 1 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567 - L3309 - 1 - 1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 1 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการ "TO BE NUMBER ONE" เป็นโครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาระดับชาติ ที่รัฐบาลถือเป็นนโยบายที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติดมีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ ทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งเศรษฐกิจสังคมและความมั่นคงของประเทศ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงมีความห่วงใยต่อประชาชนชาวไทยเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด หากเยาวชนเข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติดแล้ว ย่อมนำความเสียหายมายังตัวเยาวชน ครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติอย่างมาก ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี จึงทรงมีพระประสงค์มุ่งเน้นการรณรงค์ในกลุ่มเยาวชนเป็นเป้าหมายหลัก โดยกลวิธีสร้างกระแสการไม่ข้องแวะกับยาเสพติด รวมทั้งแสดงพลัง อย่างถูกต้องเป็นเสมือนการเติมสิ่งที่ดีให้กับชีวิตด้วยการจัดตั้งชมรม“TO BE NUMBER ONE” ในสถานศึกษา ชุมชนและสถานประกอบการ อำเภอกงหรา ได้น้อมนำโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี มีการบริหารจัดการ บูรณาการจากทุกภาคส่วน ทุกองค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชน โดยมุ่งพัฒนาและส่งเสริมการดำเนินงาน TO BE NUMBER ONE สู่ความยั่งยืนในเยาวชน เพื่อให้เยาวชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำร่วมแก้ปัญญาและร่วมรับผลประโยชน์ โดยขับเครื่อนกิจกรรม ภายใต้ 3 ยุทธศาสตร์หลักของโครงการ TO BE NUMBER ONE คือ การรณรงค์ปลุกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจ แก่เยาวชน การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONEของอำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง เป็นปัจจุบัน มีรูปแบบการดำเนินงานในหมู่บ้าน/ชุมชน สถานศึกษา ของเขตเทศบาลตำบลสมหวัง ที่เหมาะสมสำหรับการป้องกันและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมของเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักของโครงการส่งเสริม/สนับสนุนให้ชมรม TO BE NUMBER ONE มีการจัดกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ของเขตเทศบาลตำบลสมหวัง เป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกงหราและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในเขตเทศบาลตำบลสมหวัง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ปีงบประมาณ ๒๕๖7 ขึ้นตามยุทธศาสตร์ของโครงการ TO BE NUMBER ONE เพื่อจัดกิจกรรมรณรงค์ระดับอำเภอและสนับสนุนการพัฒนาชมรม TO BE NUMBER ONE ในของเขตเทศบาลตำบลสมหวัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
  2. เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด
  3. เพื่อลดผู้ใหญ่ อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด
  4. เพื่อลดจำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
  6. เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
  7. เพื่อเพิ่มจำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการในการดำเนินงานของคณะกรรมการชมรม TO BE NUMBER ONE
  2. กิจกรรมที่ 2 ประสานการรับสมัครสมาชิก TO BE NUMBER ONEจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. กิจกรรมที่ 3 สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์ประสานงานโครงการณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายา เสพติดของชมรม TO BE NUMBER ONE ในเขตเทศบาลตำบลสมหวัง
  4. กิจกรรมที่ 4 จัดประชุมคณะทำงานชมรม TO BE NUMBER ONE เพื่อเตรียมจัดมหกรรมประกวด
  5. กิจกรรมที่ 5 จัดมหกรรมประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ระดับอำเภอกงหรา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 400
กลุ่มวัยทำงาน 29
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เยาวชนและชุมชนในชมรม TO BE NUMBER ONE ได้รับโอกาสการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างทักษะเชิงบวกในการป้องกันและปฏิเสธการใช้สารเสพติด
  2. เยาวชนและชุมชนได้เพิ่มพูนทักษะ การฝึกทำงานเป็นทีม การแก้ไขปัญหาและพัฒนาภาวะความฉลาดทางอารมณ์ หรือ EQ
  3. เยาวชนและประชาชนอำเภอเมืองกงหรา ตระหนักถึงโทษภัยของยาเสพติด
  4. ชุมชนมีความเข้มแข็งมีกระบวนการเอาชนะยาเสพติด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติดลดลง
31.60 25.00

 

2 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติดลดลง
8.51 5.00

 

3 เพื่อลดผู้ใหญ่ อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติดลดลง
8.56 5.00

 

4 เพื่อลดจำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชนลดลง
5.00 2.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชนเพิ่มขึ้น
3.00 8.00

 

6 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนเพิ่มขึ้น
100.00 100.00

 

7 เพื่อเพิ่มจำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : จำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดเพิ่มขึ้น
8.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 429
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 400
กลุ่มวัยทำงาน 29
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด (2) เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด (3) เพื่อลดผู้ใหญ่ อายุ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน ที่มีการใช้สารเสพติด (4) เพื่อลดจำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน (5) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน (6) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน (7) เพื่อเพิ่มจำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการในการดำเนินงานของคณะกรรมการชมรม TO BE NUMBER ONE (2) กิจกรรมที่ 2 ประสานการรับสมัครสมาชิก TO BE NUMBER ONEจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (3) กิจกรรมที่ 3 สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์ประสานงานโครงการณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายา  เสพติดของชมรม TO BE NUMBER ONE ในเขตเทศบาลตำบลสมหวัง (4) กิจกรรมที่ 4 จัดประชุมคณะทำงานชมรม TO BE NUMBER ONE เพื่อเตรียมจัดมหกรรมประกวด (5) กิจกรรมที่ 5 จัดมหกรรมประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ระดับอำเภอกงหรา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2567 - L3309 - 1 - 1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุทธิพงค์ รักษ์พันธ์ สาธารณสุขอำเภอกงหรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด