กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา


“ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาและอนามัยเจริญพันธุ์ เพื่อเสริมสร้างสถาบันครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮัยฟา จาหลง ……ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาและอนามัยเจริญพันธุ์ เพื่อเสริมสร้างสถาบันครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L3035 - 67 - 01 - 004 เลขที่ข้อตกลง 04/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 พฤษภาคม 2567 ถึง 9 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาและอนามัยเจริญพันธุ์ เพื่อเสริมสร้างสถาบันครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาและอนามัยเจริญพันธุ์ เพื่อเสริมสร้างสถาบันครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาและอนามัยเจริญพันธุ์ เพื่อเสริมสร้างสถาบันครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L3035 - 67 - 01 - 004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 พฤษภาคม 2567 - 9 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“ อนามัยการเจริญพันธุ์” หมายความว่าภาวะความแข็งแรงสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจที่เป็นผลอันเกิดจากกระบวนการทำหน้าที่ของระบบสุขภาพทางเพศและการเจริญพันธุ์ตลอดช่วงชีวิตซึ่งทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขซึ่งปัจจุบันปัญหาของอนามัยการเจริญพันธุ์มักเกิดในกลุ่มของวัยรุ่นคือบุคคลที่อายุเกินสิบปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่ถึงยี่สิบปีบริบูรณ์โดยปัญหาที่เป็นปัญหาอันดับต้น ๆ ได้แก่ การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของวัยรุ่นเมื่อวัยรุ่นมีพัฒนาการทางด้านร่างกายและมีวุฒิภาวะทางเพศเต็มที่วัยรุ่นจะมีโอกาสตั้งครรภ์ได้เมื่อมีเพศสัมพันธ์โดยสาเหตุที่ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่นมีหลายสาเหตุสาเหตุแรก ได้แก่ ปัจจัยทางด้านสังคมประชากรความยากจนและความด้อยโอกาสของประชากรบางกลุ่มทำให้อัตราการตั้งครรภ์และอัตราการเกิดในกลุ่มวัยรุ่นมีมากขึ้นจากการขาดโอกาสทางการศึกษาขาดโอกาสในการเลือกงานเป็นแรงงานระดับไร้ฝีมือมีรายได้ต่ำมีการสังคมกับเพื่อนร่วมงานหรือเพื่อนชายเร็วขึ้นทำให้มีเพศสัมพันธ์หรือมีการสมรสในขณะอายุยังน้อยซึ่งนำไปสู่การตั้งครรภ์ที่เร็วขึ้นด้วยปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรของแม่วัยรุ่นในประเทศไทยติดอันดับต้น ๆ ของเอเชียจากสถิติภาพรวมของประเทศในปี 2554 พบวัยรุ่นหญิงอายุ 10 – 19 ปีคลอดบุตรมากถึง 131,400 คนหรือเฉลี่ยชั่วโมงละ 15 คนหรือร้อยละ 17 ของจำนวนหญิงที่คลอดบุตรทั้งหมดในประเทศไทยสูงกว่าค่าเฉลี่ยการคลอดบุตรในวัยรุ่นระดับโลกที่มีร้อยละ 11 และสูงกว่าค่าเฉลี่ยในทวีปเอเชียที่พบเฉลี่ยร้อยละ 14 นำไปสู่ปัญหาความไม่พร้อมในการเลี้ยงดูลูกปัญหาทางเศรษฐกิจเนื่องจากไม่มีงานทำและนำไปสู่การติดเชื้อโรคที่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ปัญหาที่เกิดขึ้น
    “สถาบันครอบครัว” เป็นสถาบันพื้นฐานที่เป็นหลักของสังคม เป็นรากฐานที่สำคัญของการ พัฒนาคนและสังคม โดยทำหน้าที่หล่อหลอมและขัดเกลาความเป็นมนุษย์ให้แก่สมาชิกในครอบครัวด้วยการ อบรมเลี้ยงดู พร้อมทั้งปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมให้แก่สมาชิกครอบครัว เพื่อให้สมาชิกครอบครัวมีพัฒนาการตามวัยและเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ รู้จักหน้าที่ ความรับผิดชอบ และเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ       กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลสะดาวา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องการให้ความรู้และสร้างความตระหนักเรื่องเพศศึกษาและอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จึงได้เสนอเพื่อจัดทำโครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาและอนามัยเจริญพันธุ์ เพื่อเสริมสร้างสถาบันครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาและอนามัยเจริญพันธุ์ การวางแผนครอบครัว เพื่อเสริมสร้างสถาบันครอบครัว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมตระหนักถึงอนามัยการเจริญพันธุ์ การวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่อง การวางแผนครอบครัวและการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 220
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความตระหนักถึงเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ การวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
      2.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่อง การวางแผนครอบครัวและสามารถเตรียมความพร้อมสู่การตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมตระหนักถึงอนามัยการเจริญพันธุ์ การวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้รับการอบรม ตระหนักถึงสุขภาพอนามัยเจริญพันธ์ การวางแผนครอบครัวและการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่อง การวางแผนครอบครัวและการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่อง การวางแผนครอบครัวและการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 220
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมตระหนักถึงอนามัยการเจริญพันธุ์ การวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่อง การวางแผนครอบครัวและการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาและอนามัยเจริญพันธุ์ เพื่อเสริมสร้างสถาบันครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ L3035 - 67 - 01 - 004

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฮัยฟา จาหลง ……ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด