กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพใจ เสริมคุณค่าฮัจย์ ปี 2567 ”

ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอบีอะห์ หะยีแวสะแลแม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพใจ เสริมคุณค่าฮัจย์ ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L3035 – 67- 01 - 007 เลขที่ข้อตกลง 08/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพใจ เสริมคุณค่าฮัจย์ ปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพใจ เสริมคุณค่าฮัจย์ ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพใจ เสริมคุณค่าฮัจย์ ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L3035 – 67- 01 - 007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วงเดือน พฤษภาคม 2567 เป็นช่วงเวลาของ การเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ที่เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบียของมุสลิมจากทั่วโลก การเตรียมความพร้อมในการเดินทางของผู้แสวงบุญต้องมีมากกว่าการเตรียมตัวเดินทางทั่วไป ประกอบกับผู้แสวงบุญต้องเผชิญกับภัยพิบัติของโรคโควิด 19 ด้วย เช่น การเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับเอกสารการเดินทาง ต้องมีสมุดเหลืองแสดงการฉีดวัคซีน สมุดสุขภาพและบันทึกการรักษาพยาบาล การเตรียมยาที่ใช้ประจำตัวการเตรียมด้านความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพระหว่างอยู่ในประเทศซาอุดิอาระเบีย การเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ที่เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบียของผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามนั้นทุกคนที่มีความสามารถทางร่างกายมีทรัพย์สินเพียงพอและมีการเดินทางไปกลับที่ปลอดภัย จะต้องปฏิบัติครั้งหนึ่งในชีวิต การไปประกอบพิธีฮัจย์ จึงเป็นการศาสนกิจภาคบังคับ ที่ต้องอาศัยพละกำลังและสมรรถนะทางร่างกายที่พร้อม โดยที่การไปประกอบพิธีฮัจย์มีจุดมุ่งหมายเพื่อไปประกอบศาสนกิจให้ได้มากที่สุด ดีที่สุดเพื่อจะได้ฮัจย์ที่สมบูรณ์ ดังนั้นการที่มีสุขภาพดีก็เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุขและไปประกอบศาสนกิจได้ครบถ้วนสมบูรณ์และกลับมาได้โดยสวัสดิภาพ จึงมีความจำเป็นที่ต้องเตรียมร่างกายและจิตใจให้แข็งแรง
      การบำเพ็ญฮัจย์เป็นรุกุ่นหนึ่งของรุกุ่นอิสลาม ซึ่ง มุสลิมทุกคนที่มีความสามารถจำเป็นต้องเดินทางไปทำพิธีฮัจน์ ณ นครมักกะฮ์ ประเทศซาอุดิอารเบีย  ในปี 2567 ประชาชนในตำบลสะดาวา มีการลงทะเบียนประสงค์ไปประกอบพิธีฮัจย์ ในปี 2567 จำนวน 30 คน ซึ่งมีผู้มีโรคประจำตัว จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 มีภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรัง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 23.33 นับว่าสูงมากและเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนในขณะอยู่ต่างประเทศ ประกอบกับผู้แสวงบุญทั้ง 30 คนอยู่ในช่วงอายุ ระหว่าง 50 – 79 ปี เป็นกลุ่มอายุที่ มีสภาพร่างกายที่เริ่มถดถอย ซึ่งจะมีความเสี่ยงต่อการมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ไม่ดีได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา เล็งเห็นถึงความสำคัญ ในการเตรียมตัวด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึง รายละเอียดในการปฏิบัติอย่างถูกต้องตามหลักการศาสนา เพื่อให้เกิดประสิทธิผลอย่างสูงสุด ต่อพี่น้องมุสลิมชาวสะดาวา ที่จะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ทุกๆ ท่าน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพใจ เสริมคุณค่าฮัจย์ ปี 2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด) ทราบถึงสถาณะสุขภาพของตนเองให้สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด)มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัว ก่อน ขณะ และหลังกลับจากการประกอบพิธีฮัจย์
  3. ผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด)ได้รับการประเมินภาวะสุขภาพหลังกลับจากการประกอบพิธีฮัจย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด) มีความพร้อมด้านร่างกายจิตใจและสามารถปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพกายสุขภาพใจในขณะยู่มีความรู้ด้านพิธีการทางศาสนา ที่จะสามารถประกอบพิธีฮัจย์ ได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ไม่เกิดปัญหาทางสุขภาพและสามารถถ่ายทอดแก่ ชนรุ่นหลังต่อไปได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด) ทราบถึงสถาณะสุขภาพของตนเองให้สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด) ได้รับการตรวจคัดกรองประเมินสภาวะสุขภาพ
    30.00

     

    2 เพื่อให้ผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด)มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัว ก่อน ขณะ และหลังกลับจากการประกอบพิธีฮัจย์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด)มีความรู้ความเข้าใจในการการปฏิบัติตัว ก่อน ขณะ และหลังจากไปประกอบพิธีฮัจย์
    30.00

     

    3 ผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด)ได้รับการประเมินภาวะสุขภาพหลังกลับจากการประกอบพิธีฮัจย์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด) เข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพหลังกลับจากการประกอบพิธีฮัจย์
    30.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด) ทราบถึงสถาณะสุขภาพของตนเองให้สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด)มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัว ก่อน ขณะ และหลังกลับจากการประกอบพิธีฮัจย์ (3) ผู้แสวงบุญ(ฮุดญาด)ได้รับการประเมินภาวะสุขภาพหลังกลับจากการประกอบพิธีฮัจย์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพใจ เสริมคุณค่าฮัจย์ ปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ L3035 – 67- 01 - 007

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวรอบีอะห์ หะยีแวสะแลแม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด