กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา


“ โครงการออกกำลังกาย “สบายชีวี วิถีคนทำงาน” ”

ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุรพร โต๊ะสมัน ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข

ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกาย “สบายชีวี วิถีคนทำงาน”

ที่อยู่ ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5261-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกกำลังกาย “สบายชีวี วิถีคนทำงาน” จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกาย “สบายชีวี วิถีคนทำงาน”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกกำลังกาย “สบายชีวี วิถีคนทำงาน” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5261-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,597.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพร่างกายของคนวัยทำงานต้องรับภาระหนักทั้งการทำงานภายในบ้านและภายนอกบ้าน ประกอบกับอายุที่เพิ่มมากขึ้น จึงทำให้ร่างกายเสื่อมโทรมลง คนที่ขาดการเคลื่อนไหวร่างกายหรือการออกกำลังกาย จึงมีอัตราการตายก่อนวัยอันสมควรสูงกว่าคนที่ไม่มีพฤติกรรมดังกล่าว และจากการศึกษาวิจัยพบว่า สถานการณ์ปัญหาสุขภาพของคนไทยวัยแรงงาน พบว่า สุขภาพของคนวัยทำงาน มีความเสี่ยงป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคอ้วน ภาวะเครียด และการฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้น (สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ, 2566) และยังพบการเจ็บป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดในวัยทำงานมีจำนวนถึง 60,418 ราย เพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากปี 2561      ที่มีจำนวนผู้ป่วย 52,006 ราย (Health Data Center, 2565) โดยกลุ่มคนที่ทำงานนั่งโต๊ะในสำนักงานที่มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยมาก เป็นกลุ่มที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคและเสียชีวิตจากโรคต่างๆ โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดหัวใจ และออฟฟิดซินโดรมมากกว่าคนที่ทำงานใช้แรงงาน นอกจากนี้อาการที่มักเกิดขึ้นกับคนที่ทำงานนั่งโต๊ะ  ในสำนักงานหรือนั่งทำงานหน้าคอมพิวเตอร์ทั้งวันได้แก่ ปวดหลัง อ่อนล้า เหนื่อยง่าย สาเหตุของอาการเหล่านี้เกิดมาจากกิจวัตรประจำวันที่เคลื่อนไหวร่างกายน้อย การทำงานที่ไม่ต้องใช้แรงงานมาก รวมทั้งการนั่งทำงานอยู่กับที่นานเกินไป ดังนั้นควรหากิจกรรมที่ได้เคลื่อนไหวร่างกาย เช่น การออกไปเดินผ่อนคลาย การใช้จักรยานหรือเดินแทนการใช้รถยนต์ หรือการยืดเหยียดร่างกายด้วยการยกน้ำหนักสิ่งของ เช่น ขวดน้ำ 1 ลิตร กิจกรรมเหล่านี้เป็นการออกกำลังกายประเภทเคลื่อนไหวร่างกาย ซึ่งเป็นกายบริหารแบบเบาๆ สามารถช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยและกล้ามเนื้อตึงตัวได้ในเบื้องต้น แต่เพื่อสุขภาพที่ดีควรออกกำลังกายแบบแอโรบิค ฮูลาฮุปและการออกกำลังที่ใช้แรงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 - 5 วันๆ ละอย่างน้อย 30 นาที เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของระบบไหลเวียน รวมถึงเสริมสร้างความยืดหยุ่นและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
เทศบาลตำบลท่าพระยา จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการออกกำลังกาย “สบายชีวี วิถีคนทำงาน” ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ ขึ้น เพื่อเสริมสร้างการดูแลร่างกายให้แก่กลุ่มวัยทำงาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการประชุมคณะทำงาน
  2. กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมายโดยการประเมินภาวะสุขภาพก่อนและหลังการจัดกิจกรรม
  3. กิจกรรมอบรม
  4. กิจกรรมการออกกำลังกาย
  5. การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
  6. การสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
  7. การสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
  8. กิจกรรมการประชุมคณะทำงาน
  9. กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมายโดยการประเมินภาวะสุขภาพก่อนและหลังการจัดกิจกรรม
  10. กิจกรรมอบรม
  11. กิจกรรมการออกกำลังกาย
  12. การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการประชุมคณะทำงาน (2) กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมายโดยการประเมินภาวะสุขภาพก่อนและหลังการจัดกิจกรรม (3) กิจกรรมอบรม (4) กิจกรรมการออกกำลังกาย (5) การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน (6) การสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ (7) การสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ (8) กิจกรรมการประชุมคณะทำงาน (9) กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมายโดยการประเมินภาวะสุขภาพก่อนและหลังการจัดกิจกรรม (10) กิจกรรมอบรม (11) กิจกรรมการออกกำลังกาย (12) การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการออกกำลังกาย “สบายชีวี วิถีคนทำงาน” จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5261-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุรพร โต๊ะสมัน ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด