กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี


“ โครงการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567 ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ”

ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประภาส ขำมาก

ชื่อโครงการ โครงการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567 ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 4/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567 ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567 ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567 ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต  การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต  หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือ คุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน
    การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการ ฉะนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภคได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลและเข้าถึงการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยได้
        จากการรวบรวมข้อมูลในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ของตำบลคลองรี พบว่า ประชาชนในชุมชนมีปัญหาเกี่ยวกับโรคระบบทางเดินอาหารของทุกปี ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหาร ซึ่งสาเหตุมาจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น การเตรียมอาหาร และการปรุงอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ รับประทานอาหารที่มีการปนเปื้อนของเชื้อโรค การเก็บรักษาอาหารไม่มิดชิด แมลงวันตอม น้ำใช้ น้ำดื่มไม่สะอาด การใช้ห้องน้ำ ห้องส้วมไม่ถูกสุขลักษณะ และการทำความสะอาดอุปกรณ์ต่างๆของเด็กเล็ก เช่นขวดนม ยางกัด เป็นต้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จึงได้ดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัยปี ๒๕๖๗ ขึ้นมา เพื่อเป็นการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้ประชาชนมีความรู้ ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างเครือข่ายการดำเนินงานอาหารปลอดภัย 2.ผู้ดูแลเด็ก 0 -5 ปี ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.คลองรี ผู้ปรุงอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แกนนำ อสม.ตำบลคลองรี ผู้ปรุงอาหารในงานต่างๆ มีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารอาหารปลอดภัย 3.แผงลอยขายอาหารในตำบลคลองรีผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ๔.ร้านชำในตำบลคลองรีผ่านเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้ดูแลเด็ก 0 -5 ปี ม.๑ – ม.๙ ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.คลองรี ผู้ปรุงอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แกนนำ อสม.ตำบลคลองรี ผู้ปรุงอาหารในงานต่างๆ ผ่านการอบรม ๑๐๐ เปอร์เซ็น ๒. โรงเรียนเข้าร่วมประชุมประชาสัมพันธ์ด้านอาหารปลอดภัยร่วมกับรถ Mobile ของจังหวัดสงขลา๑๐๐ เปอร์เซ็น ๓. ประชาชนมีความรู้ เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญในการเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัยให้คุณค่าทางโภชนาการ ๔. แผงลอยจำหน่ายอาหารได้รับการตรวจและผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ๑๐๐ เปอร์เซ็น ๕. ร้านชำในตำบลคลองรีได้รับการตรวจเยี่ยมผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๙๐


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างเครือข่ายการดำเนินงานอาหารปลอดภัย 2.ผู้ดูแลเด็ก 0 -5 ปี ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.คลองรี ผู้ปรุงอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แกนนำ อสม.ตำบลคลองรี ผู้ปรุงอาหารในงานต่างๆ มีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารอาหารปลอดภัย 3.แผงลอยขายอาหารในตำบลคลองรีผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ๔.ร้านชำในตำบลคลองรีผ่านเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ -มีเครือข่ายการดำเนินงานอาหารปลอดภัยในตำบลคลองรี 2.ร้อยละ ๘๐ ของผู้ดูแลเด็ก 0 -5 ปี ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.คลองรี ผู้ปรุงอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แกนนำ อสม.ตำบลคลองรี ผู้ปรุงอาหารในงานต่างๆ มีความรู้เพิ่มขึ้น 3.แผงลอยขายอาหารในตำบลคลองรีผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ร้อยละ ๑๐๐ ๔.ร้านชำในตำบลคลองรีผ่านเกณฑ์ประเมินร้อยละ ๙๐ ของร้านชำที่ลงเยี่ยม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างเครือข่ายการดำเนินงานอาหารปลอดภัย  2.ผู้ดูแลเด็ก 0 -5  ปี ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.คลองรี  ผู้ปรุงอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  แกนนำ อสม.ตำบลคลองรี  ผู้ปรุงอาหารในงานต่างๆ มีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารอาหารปลอดภัย 3.แผงลอยขายอาหารในตำบลคลองรีผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย      ๔.ร้านชำในตำบลคลองรีผ่านเกณฑ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567 ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประภาส ขำมาก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด