กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัย ห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายซอบรี สาและ

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัย ห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2476-2-033 เลขที่ข้อตกลง 035/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัย ห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัย ห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัย ห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2476-2-033 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญซึ่งมีผลกระทบและเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษามาอย่างต่อเนื่องภายใต้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อให้สถานศึกษาได้รับการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาอย่างยั่งยืน และเนื่องจากในพื้นที่บริการของโรงเรียนเป็นพื้นที่เลี่ยง เด็กและเยาวชนไม่รู้จักการหลีกเลี่ยง เพราะอยากรู้ อยากลอง ส่งผลต่อเด็กเยาวชนของไทยที่จะมีอนาคตในภายภาคหน้าที่สดใส แต่กลับต้องหลงเชื่อ การหลอก ให้เป็นเครื่องมือในการค้าขายยาเสพติด ถ้าเยาวชนทุกคนตกเป็นทาสของยาเสพติด อนาคตของชาติคงต้องพบกับสิ่งเลวร้ายอย่างยิ่ง ยาเสพติดไม่มีผลดีต่อร่างกายและยังให้โทษอีกมากมายมหาศาลเนื่องจากเยาวชนไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ ทำให้สิ่งเสพติดเข้ามาในกลุ่มเยาวชนได้อย่างง่ายมากเพราะเป็นกลุ่มเสี่ยงที่มีความคึกคะนองพอสมควร จากคำกล่าวที่ว่าเยาวชนเป็นอนาคตของชาติถ้าไม่ป้องกันและให้ความรู้เกี่ยวกับโทษ และการหลีกเลี่ยงจากยาเสพติดแก่เยาวชน อนาคตของชาติคงถูกทำลายด้วยยาเสพติดเป็นแน่ ประกอบกับเด็กนักเรียนระดับชั้น ป.3 - ป.6 เป็นวัยที่ทางโรงเรียนและผู้ปกครองต้องร่วมมือกันดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันไม่ให้นักเรียนเข้าใกล้สิ่งเสพติด ดังนั้นการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ถึงโทษ และกฏหมายของยาเสพติด เป็นสิ่งจำเป็นที่ทางโรงเรียนจะต้องดำเนินการเพื่อใให้นักเรียนรู้ทันภัย และห่างไกลยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านแมะแซ มีความรู้ ความเข้าใจรู้ทันภัยและโทษของยาเสพติด
  2. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่นักเรียนได้รับรู้รับทราบถึงปัญญหาและพิษภัยของยาเสพติด
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียนให้สามารถป้องกันตนเองและเพื่อนนักเรียนไม่ให้เข้าไปเกี่ยวกับยาเสพติด
  4. เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้สถานศึกษาในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้การป้องกันตนเองจากปัญหายาเสพติดแก่นักเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
นักเรียนโรงเรียนบ้านแมะแซ ชั้น ป.3 - ป.6 90

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันไม่ให้นักเรียนเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด 2. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ให้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้แก่ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชน 3. นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการรณรงค์และเฝ้าระวังป้องกันมิให้มีการแพร่ระบาดของยาเสพติด เข้ามาสู่ชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านแมะแซ มีความรู้ ความเข้าใจรู้ทันภัยและโทษของยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่นักเรียนได้รับรู้รับทราบถึงปัญญหาและพิษภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียนให้สามารถป้องกันตนเองและเพื่อนนักเรียนไม่ให้เข้าไปเกี่ยวกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้สถานศึกษาในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมากขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
นักเรียนโรงเรียนบ้านแมะแซ ชั้น ป.3 - ป.6 90

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านแมะแซ มีความรู้ ความเข้าใจรู้ทันภัยและโทษของยาเสพติด (2) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่นักเรียนได้รับรู้รับทราบถึงปัญญหาและพิษภัยของยาเสพติด (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียนให้สามารถป้องกันตนเองและเพื่อนนักเรียนไม่ให้เข้าไปเกี่ยวกับยาเสพติด (4) เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้สถานศึกษาในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การป้องกันตนเองจากปัญหายาเสพติดแก่นักเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ รู้ทันภัย ห่างไกลยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2476-2-033

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซอบรี สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด