กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา


“ โครงการ“เสริมพลังนักรบเสื้อเทาเพื่อการพัฒนาความเข้มแข็งสุขภาพชุมชนและทีมหมอครอบครัว (โซนบ้านใหญ่ ห้วยเต่า ม.7) ปี 2567” ”

ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
คอรีล๊ะ มะโกนะ

ชื่อโครงการ โครงการ“เสริมพลังนักรบเสื้อเทาเพื่อการพัฒนาความเข้มแข็งสุขภาพชุมชนและทีมหมอครอบครัว (โซนบ้านใหญ่ ห้วยเต่า ม.7) ปี 2567”

ที่อยู่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 31/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ“เสริมพลังนักรบเสื้อเทาเพื่อการพัฒนาความเข้มแข็งสุขภาพชุมชนและทีมหมอครอบครัว (โซนบ้านใหญ่ ห้วยเต่า ม.7) ปี 2567” จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ“เสริมพลังนักรบเสื้อเทาเพื่อการพัฒนาความเข้มแข็งสุขภาพชุมชนและทีมหมอครอบครัว (โซนบ้านใหญ่ ห้วยเต่า ม.7) ปี 2567”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ“เสริมพลังนักรบเสื้อเทาเพื่อการพัฒนาความเข้มแข็งสุขภาพชุมชนและทีมหมอครอบครัว (โซนบ้านใหญ่ ห้วยเต่า ม.7) ปี 2567” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือ อสม. เป็นที่รู้จักในนามของ “นักรบเสื้อเทา” เป็นจิตอาสาด้านสาธารณสุขที่ได้รับความเชื่อมั่นศรัทธาอย่างสูง โดยเฉพาะในสถานการณ์วิกฤติสุขภาพ เช่น กรณีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การส่งมอบบริการสุขภาพในรูปแบบหมอครอบครัว ในฐานนะหมอคนที่ 1 และเป็นกลไกหนึ่งในแผนการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติในระยะ 20 ปี ซึ่ง อสม. มีบทบาทการปฏิบัติงานถึงระดับครัวเรือนและบุคคล เป็นกำลังสำคัญของกระทรวงสาธารณสุขมาตลอดรวมกว่า 40 ปี โดย อสม.มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ในงานสาธารณสุขมูลฐานและงานที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย 8 ข้อ ดังนี้ 1. สื่อข่าวสารสาธารณสุขระหว่างเจ้าหน้าที่และประชาชนในหมู่บ้าน 2. ให้การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมและป้องกันโรค โดยให้คำแนะนำ ถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนบ้านและแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว แกนนำชุมชนในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพพลานามัยให้แข็งแรง และเกิดการเจ็บป่วยน้อยที่สุด 3. ให้บริการสาธารณสุขแก่ประชาชน เช่น การรักษาพยาบาลเบื้องต้น การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การจ่ายถุงยางอนามัย การตรวจวัดความดันโลหิต การตรวจหาน้ำตาลในปัสสาวะ การตรวจหาน้ำตาลในเลือด การส่งต่อผู้ป่วย และการติดตามดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อมาจากสถานบริการ 4. ปฏิบัติงานที่ ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) หรือสถานที่ตามกำหนดของหมู่บ้าน 5. จัดกิจกรรมเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาสาธารณสุขในหมู่บ้าน เช่น กิจกรรมเฝ้าระวังทางโภชนาการ โดยการชั่งน้ำหนักเด็ก การติดตามหญิงมีครรภ์ให้มาฝากท้องและตรวจครรภ์ตามกำหนด ให้บริการชั่งน้ำหนักหญิงมีครรภ์เป็นประจำทุกเดือน ติดตามเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และตรวจสุขภาพตามกำหนด กิจกรรมเฝ้าระวังด้านสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โดยการติดตามให้มารดานำเด็กไปรับวัคซีนตามกำหนด และกิจกรรมเฝ้าระวังเรื่องโรคระบาดและโรคติดต่อประจำถิ่น โดยการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคหรือพาหะนำโรค 6. บริหารจัดการวางแผน แก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน โดยใช้งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลและจากแหล่งอื่นๆ 7. ชักชวนเพื่อนบ้านเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน 8. ดูแลสิทธิประโยชน์ด้านหลักประกันสุขภาพและสาธารณสุขของประชาชนในหมู่บ้าน โดยเป็นแกนนำในการประสานงานกับผู้นำชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลและเครือข่ายสุขภาพ กระตุ้นให้มีการวางแผนและดำเนินงานเพื่อพัฒนางานสาธารณสุขของหมู่บ้าน บนพื้นฐานข้อมูลของชุมชน สอดคล้องกับเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นพัฒนาและแก้ไขปัญหาด้านสังคมเศรษฐกิจและจิตใจควบคู่กันไป การดำเนินการทั้ง 8 ข้อ นั้น จำเป็นจะต้องได้รับการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน สำหรับการปฏิบัติงานเชิงรุกในชุมชนเป็นฐานปฏิบัติการย่อยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทับหลวง ปัจจุบันมีการแบ่งเป็นการปฏิบัติงานของ อสม. ทั้ง 3 หมู่บ้าน ออกเป็น 12 โซน (หมู่บ้านละ 4 โซน) ตามสภาพการทำงานที่สอดคล้องกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ของตำบลคูหาที่มีความทุรกันดาร ขาดแคลน และห่างไกล จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินโครงการนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อตรวจคัดกรองค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถให้คำแนะนำและดูแลสุขภาพประชาชนที่เน้นกลุ่มเสี่ยง ในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตสูงเบื้องต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
    2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
    3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
    4. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อตรวจคัดกรองค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถให้คำแนะนำและดูแลสุขภาพประชาชนที่เน้นกลุ่มเสี่ยง ในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตสูงเบื้องต้น
    ตัวชี้วัด : - ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองอย่างทั่วถึง - กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง เพิ่มขึ้น - จำนวนประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และระดับน้ำตาลในเลือดลดลง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อตรวจคัดกรองค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง            2. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถให้คำแนะนำและดูแลสุขภาพประชาชนที่เน้นกลุ่มเสี่ยง ในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตสูงเบื้องต้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ“เสริมพลังนักรบเสื้อเทาเพื่อการพัฒนาความเข้มแข็งสุขภาพชุมชนและทีมหมอครอบครัว (โซนบ้านใหญ่ ห้วยเต่า ม.7) ปี 2567” จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( คอรีล๊ะ มะโกนะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด