กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ"ปีงบประมาณ 2567 เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว


“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ"ปีงบประมาณ 2567 เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ”

ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายณรงค์ รอดชุม

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ"ปีงบประมาณ 2567 เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

ที่อยู่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ"ปีงบประมาณ 2567 เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ"ปีงบประมาณ 2567 เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ"ปีงบประมาณ 2567 เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ มีประชากรอายุ 60 ปี ขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศ โดยคาดการณ์ว่าอีก 9 ปีข้างหน้า ในปี 2574 จะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด คือเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในระยะยาว ทั้งประเด็นงบประมาณ เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยรวม ความจำเป็นด้านการดูแลผู้สูงอายุเป็นความท้าทายที่เพิ่มมากขี้นอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลประกาศให้ประเด็นเรื่อง สังคมผู้สูงอายุ เป็นระเบียบวาระแห่งชาติ มุ่งเน้นเรื่องสังคมสูงวัยคนไทยอายุยืน ทั้งมิติคนก่อนวัยสูงอายุที่ต้องสร้างความรู้ความเข้าใจพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงวางแผนชีวิตอย่างมีคุณค่าตระหนักและเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์เพื่อก้าวสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ และมิติวัยสูงอายุมีการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพให้มีความแข็งแรงด้านสุขภาพ มีความมั่นคงในการมีชีวิต มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม จากข้อมูลการสำรวจสุขภาพวะผู้สูงเป็นอันดับแรก คือ การเคลื่อนไหวร่างกาย ร้อยละ 58 รองลงมาคือ โรคหรือปัญหาสุขภาพ พบปัญหาสุขภาพที่สูงเป็นอันดับแรกคือ การเคลื่อนไหวร่างกาย ร้อยละ 58 รองลงมาคือ โรคความดันโลหิตสูง ร้อย 41.4 โรคเบาหวาน ร้อยละ 18.2 และโรคข้อเข่าเสื่อม ร้อยละ 8.6 ผู้พิการร้อยละ 6 และมีภาวะสมองเสื่อม ร้อยละ 6 มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้นที่ไม่มีโรคหรือปัญหาสุขภาพ จำนวน ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยข้างต้นอาจมีจำนวนน้อยกว่านี้ หากเข้าถึงการคัดกรองที่มีคุณภาพได้อย่างครอบคลุม เนื่องจากการคัดกรองโรคจะช่วยให้สามารถพบโรคได้เร็วขี้นทำให้ลดความรุนแรงในการเกิดโรคช่วยลดภาวะแทรกซ้อนและมีโอกาสในการดูแลรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างทันท่วงที สิ่งเหล่านี้คือ ความจำเป็นที่ต้องสร้างระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวขึ้นมารองรับ โดยกระทรวงสาธารณสุขมุ่งเน้นให้ผู้สูงอายุต้องได้รับการดูแลอย่างเป็นระบบและทั่วถึงจัดบริการเชิงรุกอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้มีการคัดกรองสุขภาพ ประเมินความเสี่ยงของโรค การป้องกันปัญหาสุขภาพการดูแลระยะยาว โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น เพื่อส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่ามีศักดิ์ศรีเข้าถึงบริการอย่างถ้วนหน้าและเท่าเทียม จากการสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะเดื่อ ในปี 2566 พบว่ามีผู้สูงอายุในพื้นที่ จำนวน 248 คน คิดเป็นร้อยละ 21.21 ของประชากร ผลการประเมินการประกอบกิจวัตรประจำวัน เป็นกลุ่มติดสัง จำนวน 231 คน ร้อยละ 93.15 เป็นกลุ่มติดบ้าน จำนวน 14 คน ร้อยละ 5.64 เป็นกลุ่มติดเตียง จำนวน 3 คนร้อยละ 1.21 และจากการคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุพบผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคเรื้อรัง จำนวน 115 คน ร้อยละ 46.37 มีปัญหาด้านสายตา จำนวน 99 คน ร้อยละ 39.92 มีความเสี่ยงต่อภาวะหกล้ม จำนวน 39 คน ร้อยละ 15.72 มีปัญหาด้านความคิดความจำ จำนวน 9 คน ร้อยละ 3.63 มีปัญหาสุขภาพช่องปาก จำนวน 76 คน ร้อยละ 30.64 มีภาวะขาดสารอาหาร จำวน 35 คน ร้อยละ 14.11 และการสำรวจสภาวการณ์พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์พบว่า ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ จำนวน 128 คน คิดเป็นร้อยละ 51.61 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่ามะเดื่อ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวและให้ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยมีเป้าหมาย(GOAL) "ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี" จึงได้จัดทำ "โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สูงวัยอย่างมีคุณค่าชราอย่างมีคุณภาพ" ปีงบประมาณ 2567 ขี้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยเน้นการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตนเองครอบครัวและช่วยเหลือสังคมได้ ได้รับการประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพตามมาตรฐาน รวมถึงการเตรียมความพร้อมของประชาชนก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุเพื่อการเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวชุมชนและภาคีเครือข่ายในการดูแลผู้สูงอายุอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน ซึ่งจะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีคุณค่ามีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเองและครอบครัวให้ดำรงอยู่อย่างปกติสุขตามศักยภาพแห่งตนและมีความสุขในบั้นปลายของชีวิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 80
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้สูงอายุได้รับการประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพ 2.ผู้สูงอายุมึความรอบรู้ด้านสุขภาพสามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้อย่างเหมาะสมและสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้คนในครอบครัวและชุมชนได้ 3.ประชาชนก่อนวัยสูงอายุ(อายุ55-59ปี) มีการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 4.ภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดีจากครอบครัวและชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 80
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ"ปีงบประมาณ 2567 เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายณรงค์ รอดชุม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด