กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80
76.58 80.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 80
70.00 80.00

 

3 เพื่อลดจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางน้อยกว่า ร้อยละ 10
18.50 10.00

 

4 เพื่อให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : อัตรามารดาตายและเด็กเกิดไร้ชีพเป็น 0
0.00 0.00

 

5 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ สามีและญาติ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ ระยะก่อนคลอด และระยะหลังคลอด
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ สามี และญาติ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ ระยะก่อนคลอด และระยะหลังคลอดร้อยละ 90
0.00 90.00

 

6 เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย 0ร้อยละ 80
0.00 80.00

 

7 เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำนมมารดาหลังคลอดที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ร้อยละ 50
0.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ (3) เพื่อลดจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง (4) เพื่อให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย (5) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ สามีและญาติ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ ระยะก่อนคลอด และระยะหลังคลอด (6) เพื่อให้มารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย (7) เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำนมมารดาหลังคลอดที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างกระแส ประชาสัมพันธ์ แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ ฝากครรภ์เมื่อพร้อม การฝากครรภ์เร็วก่อน 12 สัปดาห์    การฝากครรภ์ตามนัดและให้ครบ  5 ครั้งตามเกณฑ์ผ่านสื่อไวนิล (2) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์สามีหรือญาติ (3) จัดอบรมให้ความรู้แก่มารดาหลังคลอด เกี่ยวกับการดูแลด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และวิธีการใช้พืชสมุนไพรที่มีสรรพคุณในการสร้างน้ำนมแม่หลังคลอดเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (4) ติดตามเยี่ยมมารดาหลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh