กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปีงบประมาณ 2567
รหัสโครงการ 67-L5224-1-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากแตระ
วันที่อนุมัติ 26 ธันวาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 8,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวฐิตยาภรณ์ คงตุก
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากแตระ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.766,100.358place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อถ่ายทอดความรู้เรื่องการใช้และการป้องกันอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย วิธีการลดสารเคมีตกค้างในผักผลไม้ รวมถึงการใช้สมุนไพรล้างพิษ แก่เกษตรกร 2.เพื่อตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อการสัมผัสสารกำจัดศัตรูพืชในเลือด 3.เพื่อให้คำปรึกษาแก่เกษตรที่มีผลการประเมินพบว่าอยู่ในระดับบเสี่ยง-ไม่ปลอดภัย ได้รับคำแนะนำวิธีลดความเสี่ยง/ส่งต่อเพื่อรักษา

1.เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง เพื่อถ่ายทอดความรู้การใช้และการป้องกันอันตรายจากสารเคมีกำจักศัตรูพืชอย่าถูกต้องและปลอดภัย วิธีการลดสารเคมีตกค้างในผักผลไม้ รวมถึงการใช้สมุนไพรล้างพิษ เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
2.เกษตรกรได้รับการเจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้าง และทราบผลการตรวจประเมินความเสี่ยงของตนเองอยู่ในระดับ (ปกติ-ปลอดภัย-มีความเสี่ยง-ไม่ปลอดภัย) 3.เกษตรกรมีผลเือดดีขึ้น ร้อยละ 60 หลังจากการรักษาโดยสมุนไพรรางจืด อยู่ในระดับปกติและปลอดภัย

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกษตรกรและผู้ที่สัมผัสสารเคมีการเกษตร มีความรู้เรื่องการใช้สารเคมีในการเกษตรอย่างถูกต้องและปลอดภัย รวมถึงวิธีการลสารพิาตกค้างในผักผลไม้ 2.เกษตรกรได้ทราบผลการเจาะเลือดของตนเอง มีสารเคมีตกค้างในระดับใด (ปกติ-ปลอดภัย-มีความเสี่ยง-ไม่ปลอดภัย) 3.เกษตรกรสามารถป้องกันตนเองไม่ให้สารเคมีเข้าร่างกายจนเป็นอันตราย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 มี.ค. 2567 09:55 น.