กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการค่ายอบรมเยาวชนทุ่งวิมานร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารียา ตะหวัน

ชื่อโครงการ โครงการค่ายอบรมเยาวชนทุ่งวิมานร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5307-2-16 เลขที่ข้อตกลง 31/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายอบรมเยาวชนทุ่งวิมานร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายอบรมเยาวชนทุ่งวิมานร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายอบรมเยาวชนทุ่งวิมานร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5307-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,808.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กและเยาวชน เพื่อให้เด็กเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ การเปลี่ยนแปลงตามกระแสการพัฒนาของโลก ที่เน้นด้านเศรษฐกิจ วัตถุนิยม และบริโภคนิยมในประเทศไทย ส่งผลกระทบต่อสังคมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเด็กและเยาวชนไทย ทั้งในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา และสังคมโดยรอบ ทั้งนี้ การพัฒนาประเทศที่เน้นการเจริญเติบโตดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อปัญหาความไม่เป็นธรรมและความเสมอภาคทางสังคม การพัฒนาที่ไม่สมดุล ประชาชนละทิ้งถิ่นฐานอพยพเข้าสู่ตัวเมือง ขาดจิตสำนึกรักท้องถิ่น สภาพเศรษฐกิจที่รัดตัว กดดัน ต้องให้พ่อ/แม่ ทำงานหนัก ไม่มีเวลาเลี้ยงดูลูก หรือเลี้ยงดูในแบบที่ไม่เหมาะสม ส่งผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กและเยาวชน การปรับตัวเข้ากับสังคมหรือสิ่งแวดล้อมประกอบกับสื่อที่มีอิทธิพลอย่างกว้างขวางที่มิได้สำนึกถึงผลที่ตามมาจากการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูล ที่กระตุ้นยั่วยุ ให้เด็กและเยาวชนมีการเสพสารเสพติด ซึ่งเป็นตัวการหลักนำมาเรื่องต่างๆไม่ว่าลักเล็กขโมยน้อย การฆาตรกร ปัญหาครอบครัว และอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งปัญหาดังกล่าวไม่ใช่ปัญหาที่จะแก้ไขได้ทันทีแต่ต้องค่อยๆ จัดการจุดเล็กๆ ให้ดีแล้วผลที่ได้จะค่อยๆ งอกเงยตามไป ทั้งนี้การจัดการปัญหาเหล่านี้ได้ ระดับหนึ่ง คือ ชุมชน หากคนในชุมชนเข้มแข็งและรวมพลังกันต่อต้านยาเสพติด ปัญหายาเสพติดที่เกิดขึ้นก็จะค่อยๆลดลงไป ดังนั้นกลุ่มเยาวชนคนต้นแบบบ้านทุ่งวิมานได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน จึงได้จัดทำโครงการ "โครงการค่ายอบรมเยาวชนทุ่งวิมานร่วมใจต้านภัยยาเสพติด" ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในชุมชน
  2. กิจกรรมเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติด
2.มีแกนนำเด็กและเยาวชน ต่อต้านยาเสพติดในครอบครัวและชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในชุมชน

วันที่ 11 พฤษภาคม 2567 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในชุมชน 1.เยาวชนชวนผู้ปกครองร่วมกิจกรรมเดินรณรงค์สร้างความตระหนักถึงพิษภัยของเสพติด และผลกระทบของยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีกิจกรรมการจัดกิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ป้องกันยาเสพติด จำนวน 1 ครั้ง

 

0 0

2. กิจกรรมเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด

วันที่ 12 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดค่ายให้กับเด็กและเยาวชน จำนวน 30 คน โดยมีผู้ดูแลกิจกรรม จำนวน 10 คน ในระยะเวลา 3 วัน 2 คืน
เป็นกิจกรรมที่เน้นการละลายพฤติกรรมและสร้างจุดยืนในสังคมให้กับเด็กและเยาวชนในการค้นหาตัวเองเพื่อหลีกเลี่ยงจากยาเสพติด ทั้งนี้ในการจัดค่ายยังมีกิจกรรมที่สร้างประโยชน์ให้แก่ชุมชนอีกด้วย เช่น ล้างห้องน้ำ ทำความสะอาด เก็บขยะ ให้กับมัสยิดและตาดีกา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.กลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 30 คน ผลลัพธ์ เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
50.00 45.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในชุมชน (2) กิจกรรมเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค่ายอบรมเยาวชนทุ่งวิมานร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5307-2-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอารียา ตะหวัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด