กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ปี 2567 ในพื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลโคกทราย

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกทราย


“ โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ปี 2567 ในพื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลโคกทราย ”

ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายกิตติพศ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ปี 2567 ในพื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลโคกทราย

ที่อยู่ ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3340-02-02 เลขที่ข้อตกลง 008/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ปี 2567 ในพื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลโคกทราย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ปี 2567 ในพื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลโคกทราย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ปี 2567 ในพื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลโคกทราย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3340-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ณ ภาวะปัจจุบัน ความสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทยปี ๒๕๕๗ เท่ากับ ๑๔๙ ล้านปี คำนวณเป็นความสูญเสียเท่ากับ 2.4 ล้านล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs (noncommuni-cable diseases) และอุบัติเหตุ ในภาวะปัจจุบัน กลุ่มคนวัยทำงานป่วยเป็นโรค NCDs เพิ่มมากขึ้น และพบในคนอายุน้อยลงเป็นลำดับ โดยสัดส่วนการตายก่อนวัยอันควรจากโรคติดต่อเรื้อรังสูง เกินร้อยละ ๕๐ จากการศึกษาข้อมูลจากฐานข้อมูล HDC (Health Data Service Center) ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราการป่วยตายโรค NCDs มีอัตราที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี ได้แก่ อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง และ อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ถึงปี พ.ศ.๒๕๖๖ โดยอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน พบว่า กลุ่มช่วงอายุวัยทำงาน คือ กลุ่มอายุ ๑๕ – ๓๙ ปี กลุ่มอายุ ๔๐ – ๔๙ ปี และกลุ่มอายุ ๕๐ – ๕๙ ปี มีอัตราที่เพิ่มขึ้นทุกกลุ่มอายุ
การคัดกรอง-วินิจฉัยและประเมินความเสี่ยงฯ ทำให้สามารถพบกลุ่มที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค กลุ่มสงสัยป่วยหรือกลุ่มป่วยแล้วแต่ยังไม่ได้รับการตรวจคัดกรอง-วินิจฉัยแต่แรก การดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย ดังกล่าว ทั้งที่มีและไม่มีอาการ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิตที่ไม่เหมาะสมอย่างเข้มข้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง สามารถป้องกันและยืดระยะเวลาการเป็นโรคออกไปได้ถึงร้อยละ ๕๐ จึงเป็นวิธีการป้องกันการเกิดโรคที่ดีที่สุด
จากการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเพ็ง ในประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ในปีงบประมาณ ๒๕๖๖  พบว่า มีกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 352 คน คิดเป็นร้อยละ 27.65 กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 1.57 และกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 303 คน เป็นร้อยละ 28.58 กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 86 คน คิดเป็นร้อยละ 8.11ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเพ็ง อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ปี ๒๕๖๖ ขึ้น เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง/โรคหัวใจและหลอดเลือด เข้าถึงบริการวัดคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และ รักษาอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรค มีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและ หลอดเลือดตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรค เข้าถึงบริการวัดคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และ รักษาอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ประชาชนผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรค มีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคอย่างถูกต้อง
    ๒. อัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรค มีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและ หลอดเลือดตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคอย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๙๐ ของผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยเข้าร่วมกิจกรรมการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ๒. ร้อยละ ๖๐ ของผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคได้อย่างถูกต้อง
    90.00

     

    2 เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรค เข้าถึงบริการวัดคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และ รักษาอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาตามแนวทางที่กำหนดทุกราย
    90.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรค มีความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและ หลอดเลือดตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคอย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรค เข้าถึงบริการวัดคัดกรอง วินิจฉัย ขึ้นทะเบียน และ รักษาอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ที่มีโอกาสเสี่ยง สงสัยป่วยต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ปี 2567 ในพื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลโคกทราย จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 67-L3340-02-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายกิตติพศ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด