กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ


“ โครงการ 3 นิ้ว 3 สัมผัส สกัดมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางจันทร์จิรา อินทราช พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการ 3 นิ้ว 3 สัมผัส สกัดมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ l2498-67-01-04 เลขที่ข้อตกลง 4/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 3 นิ้ว 3 สัมผัส สกัดมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 3 นิ้ว 3 สัมผัส สกัดมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 3 นิ้ว 3 สัมผัส สกัดมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ l2498-67-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 พฤษภาคม 2567 - 30 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,076.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคมะเร็งเต้านม เป็นโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของสตรีไทย โดยมีอุบัติการณ์เกิดในผู้ป่วยใหม่ ปีละประมาณร้อยละ 12 ในปี 2566 พบผู้ป่วยรายใหม่ 17,742 คน หรือวันละ 49 คน และพบการกลับมาเป็นซ้ำของมะเร็งเต้านมหรือการแพร่กระจายของโรคค่อนข้างสูงกว่ามะเร็งชนิดอื่น ทำให้ผู้ป่วยหลายรายหมดกำลังใจในการรักษา และเสียชีวิตประมาณ 4,665 รายหรือทุก 2 ชั่วโมงจะพบว่าสตรีไทยเสียชีวิต ด้วยมะเร็งเต้านม 1 คน และมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมาพบแพทย์ในระยะหลัง ซึ่งจะมีการลุกลาม และแพร่กระจายไปแล้วประมาณร้อยละ 56 ถึงแม้ว่ายังไม่ทราบถึงสาเหตุของมะเร็งเต้านมที่แน่ชัดแต่พบว่ามีปัจจัยเสี่ยง คือกลุ่มคนที่มีประจำเดือนมาเมื่ออายุน้อยหรือหมดประจำเดือน (Menopause) เมื่ออายุมาก ขาดการออกกำลังกายสม่ำเสมอ รับประทานอาหารไขมัน และสตรีที่มีญาติพี่น้องสายตรงเป็นมะเร็งเต้านม และมักพบในสตรีอายุ 40 ปีขึ้นไป แต่ในสตรีอายุ 20 - 30 ปี ก็พบได้เช่นกัน ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการมีก้อนและมีแผลที่เต้านมหรือมีเลือด น้ำเหลืองไหลออกจากหัวนม     การป้องกันมะเร็งเต้านม คือการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานผักและผลไม้ให้มากขึ้น ลดอาหารไขมัน และการป้องกันที่ดีสุด ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกซึ่งทำได้ 2 วิธี คือ 1. การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ซึ่งสามารถคลำพบก้อนที่โตประมาณ 1 เซนติเมตร ขึ้นไป หากตรวจพบในระยะ 2 -4 เซนติเมตร อัตราการรอดชีวิต มีถึงร้อยละ 90 หากคลำพบก้อนขนาด 5 เซนติเมตร ขึ้นไป อัตรการรอดชีวิตมีถึงร้อยละ 15 – 30 เท่านั้น  2. การตรวจเต้านมด้วยเครื่องเอกซเรย์เต้านม (Mammogram) จะสามารถพบก้อนได้ตั้งแต่ ขนาด 2 - 3 มิลลิเมตร ขึ้นไป หากพบในระยะนี้การรักษาจะหายเกือบ ร้อยละ 100 เพราะมะเร็งมีขนาดเล็กมากยังไม่แพร่ไปที่อื่น
    ในการนี้ กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา จึงได้จัดทำโครงการ 3 นิ้ว 3 สัมผัส สกัดมะเร็งเต้านม ในกลุ่มสตรีเสี่ยง เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม สอน สาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเอง พร้อมทั้งการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยบุคลากรสาธารณสุข ซึ่งจะทำให้การค้นหาผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ในพื้นที่ได้เข้าสู่กระบวนการรักษาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปีได้รับความรู้ ความเข้าใจ การป้องกันโรคมะเร็งเต้านมและมีทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งด้วยตนเองได้ถูกต้อง
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่ม 30 – 60 ปีมีพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 162
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

.- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ มีทักษะที่เหมาะสมในการตรวจเต้านมได้อย่างถูกต้องและได้รับการตรวจพบมะเร็งในระยะเริ่มต้น - กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับอบรมและฝึกทักษะสามารถถ่ายทอดความรู้และทักษะในการตรวจเต้านมแก่สตรีในชุมชนด้วยกันได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปีได้รับความรู้ ความเข้าใจ การป้องกันโรคมะเร็งเต้านมและมีทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งด้วยตนเองได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้สตรีกลุ่ม 30 – 60 ปีมีพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 162
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 162
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปีได้รับความรู้ ความเข้าใจ การป้องกันโรคมะเร็งเต้านมและมีทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งด้วยตนเองได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้สตรีกลุ่ม 30 – 60 ปีมีพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ 3 นิ้ว 3 สัมผัส สกัดมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ l2498-67-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจันทร์จิรา อินทราช พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด