กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อคุณภาพชีวิตคนหมู่ที่ 4 บ้านโพธิ์
รหัสโครงการ 2567-L3328-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านโพธิ์ 1. นางอนงค์ ชูวิจิตร์ 2. นางชลธิชา นิลคน 3. นายเฉลิมชัย มณีโชติ 4. นายนภิชัย ทองรักษ์ 5. นายเวียงศักดิ์ วรศรี
วันที่อนุมัติ 21 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 7,905.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอนงค์ ชูวิจิตร์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 4 บ้านโพธิ์
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ม.ค. 2567 30 ก.ย. 2567 7,905.00
รวมงบประมาณ 7,905.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ คือโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดและพบว่าคนในชุมชนมีจำนวนผู้ป่วยโรคดังกล่าวมากขึ้น ต้องรับการรักษาตลอดชีวิตสูญเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่งผลกระทบต่อครอบครัว เป็นภาระรัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการและแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ โดยต้นเหตุของปัญหาดังกล่าวนั้นเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม อาหารที่มีการปนเปื้อนสารเคมีหรือผลไม้ที่มีสารเคมีตกค้างเพราะเกษตรกรผู้ปลูกหรือผู้ผลิตใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธี การรับประทานผักอาหารที่มีกากใยสูง อาหารที่มีเบต้าแคโรทีน วิตามินเอ วิตามินซีสูง ซึ่งสามารถรับประทานได้จากผัก ผลไม้ โดยเฉพาะผักปลอดสารพิษที่สามารถปลูกเพื่อรับประทานเองได้ในครัวเรือน ถือเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถป้องกันปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดและเป็นการแก้ปัญหาทีต้นเหตุอย่างยั่งยืนโดยเน้นการให้สุขศึกษาแก่ประชาชนที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคผัก และการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในครัวเรือน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกรับประทานผักปลอดสารพิษ 2. เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์ในชุมชน
  1. กลุ่มเป้าหมายความรู้ ความเข้าใจในการเลือกรับประทานผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
  2. มีพื้นที่เกษตรอินทรีย์ในชุมชนไม่น้อยกว่า 10 แห่ง
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 7,905.00 0 0.00
1 ม.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการก่อนและหลังดำเนินโครงการ 0 1,805.00 -
1 ม.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการผักปลอดสารพิษ การเลือกซื้อ การปลูก การล้าง การเก็บ และการเลือกรับประทาน 0 4,500.00 -
1 ม.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 จัดกิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน 0 1,600.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้ปลอดสารพิษ 2.กลุ่มเป้าหมายมีผัก ผลไม้ปลอดสารพิษรับประทานในครัวเรือน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 เม.ย. 2567 13:41 น.