กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ”

ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายจรูญ สงรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3367-3-01 เลขที่ข้อตกลง 14/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มิถุนายน 2567 ถึง 26 มิถุนายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3367-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มิถุนายน 2567 - 26 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มักเกี่ยวกับโรคกระดูกและข้อ เนื่องจากอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และข้อที่เสื่อมมากที่สุดคือข้อเข่า เนื่องจากข้อเข่าเป็นข้อที่ต้องรองรับน้ำหนักของร่างกายโดยตรง ทั้งยังทำหน้าที่เคลื่อนไหวตลอดเวลา ทำให้ข้อเสื่อมได้ง่าย โรคข้อเข่าเสื่อม หมายถึง การที่กระดูกอ่อนของข้อมีการเสื่อมสภาพ ทำให้กระดูกอ่อนไม่สามารถเป็นเบาะรองรับน้ำหนักและมีการสูญเสียคุณสมบัติของน้ำหล่อเลี้ยงเข่า ทำให้มีอาการปวด บวม แดง ร้อนที่เข่า ซึ่งเป็นโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงการเสื่อมในกลุ่มที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม ตำแหน่งของข้อที่มีการเสื่อม ได้แก่ ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อมือ กระดูกสันหลังและข้อเท้า แต่ข้อที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อการเจ็บป่วย และต้องเข้ารับบริการมากที่สุด คือ ข้อเข่า ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว โดยทั่วไปจะรับการรักษาด้วยยา เช่น ยาแก้ปวด ลดการอักเสบ ที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ยาคลายกล้ามเนื้อ ซึ่งยาดังกล่าวหากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน จะทำให้เกิดผลข้างเคียงได้ เช่น แผลในกระเพาะอาหาร ไตวาย และความดันโลหิตสูงศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลเขาย่า ได้ตระหนักถึงการลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน ที่เป็นสาเหตุผลข้างเคียงของยาดังกล่าว อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต จึงนำศาสตร์การแพทย์แผนไทยมาประยุกต์ใช้กับผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม โดยจัดเป็นโปรแกรมบรรเทาอาการปวดเข่า ซึ่งมีกิจกรรมคือการนวดกดจุดสัญญาณ การใช้สมุนไพรพอกเข่า ท่าบริหารกล้ามเนื้อด้วยท่าฤาษีดัดตน และการให้คำแนะนำ เพื่อลดอาการปวดเข่า อีกทั้งช่วยลดปัญหาผลข้างเคียงจากการใช้ยาแผนปัจจุบัน ดังนั้น ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลเขาย่า จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อบำบัดผู้ป่วยโรคเข่าเสื่อมให้มีอาการปวดลดลง ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม และสามารถใช้สมุนไพรในท้องถิ่นนำมาทำยาพอกเข่า ตลอดจนเป็นการอนุรักษ์และตระหนักถึงคุณค่าในภูมิปัญญาไทยอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อบำบัดผู้ป่วยโรคเข่าเสื่อมให้มีอาการปวดลดลง
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยหรือกลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถใช้สมุนไพรในท้องถิ่นมาทำยาพอกเข่าได้
  3. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
  2. 2.อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมและการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นมาทำยาพอกเข่าการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมและเพื่อหาวิธีป้องกันไว้ก่อน 8.2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง 8.3 ผู้สูงอายุสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาทำเป็นยาพอกเข่าและสามารถพอกเข่าด้วยตนเองได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อบำบัดผู้ป่วยโรคเข่าเสื่อมให้มีอาการปวดลดลง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเข่าเสื่อมที่ได้รับการบำบัดมีอาการปวดลดลง
30.00 30.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยหรือกลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถใช้สมุนไพรในท้องถิ่นมาทำยาพอกเข่าได้
ตัวชี้วัด : ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นทำยาพอกเข่าของผู้ป่วยหรือกลุ่มผู้สูงอายุ
30.00 30.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : การใช้สมุนไพรในท้องถิ่น
30.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อบำบัดผู้ป่วยโรคเข่าเสื่อมให้มีอาการปวดลดลง (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยหรือกลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถใช้สมุนไพรในท้องถิ่นมาทำยาพอกเข่าได้ (3) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (2) 2.อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมและการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นมาทำยาพอกเข่าการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3367-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจรูญ สงรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด