กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง


“ โครงการร่วมใจรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 ”

ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางหะซะนะฮ์ นาราปัตย์

ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4155-01-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมใจรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใจรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมใจรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4155-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อ เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบ ของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด เป็นต้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปี เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาที่สูง ในกลุ่มโรคความดันโลหิตสูงยิ่งคัดกรองมากก็จะพบกลุ่มเสี่ยงและจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ ดังนั้น แนวทางแก้ไข ต้องดำเนินการให้เป็นระบบโดยเริ่มตั้งแต่การคัดกรอง จากนั้นนำมาจัดกลุ่ม ดี เสี่ยง ป่วย ในกลุ่มป่วยต้องดำเนินการให้การรักษา ต้องมีการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องที่บ้านให้ครอบคลุม แต่ถ้าหากจะใช้เจ้าหน้าที่ โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชนและให้มีการลดละกิจกรรมเสี่ยงอันได้แก่ ละเลิกการสูบบุหรี่ ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานผัก ผลไม้เพิ่มขึ้น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ลดภาวะน้ำหนักเกินประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง มีภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง แต่ขาดการเฝ้าระวัง ขาดการป้องกัน การบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค ประกอบกับการขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้องตามรูปแบบและยังมีพฤติกรรมที่ไม่นิยมรับประทานผัก จึงส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่มีภาวะป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคหัวใจและหลอดเลือด ขาดการป้องกันโรค รอจนป่วย แล้วค่อยเยียวยารักษา ขณะเดียวกันผู้ป่วยจำนวนไม่น้อย ที่รับการรักษาไม่ต่อเนื่อง หรือรับประทานยาแต่ ยังไม่ตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อน กลายเป็นผู้ป่วยติดเตียง   จากผลการตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนในชุมชนเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง ปีงบประมาณ 2566 ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ขึ้นไปได้รับคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,012 ราย พบอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 12 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.04 ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน จำนวน 1,148 ราย พบอัตราป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ จำนวน 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.39 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี
  ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง จึงได้จัดทำโครงการร่วมใจรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง พร้อมทั้งรณรงค์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดีอย่างยั่งยืน จึงจำเป็นต้องจึงจำเป็นต้องจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
  2. เพื่อสร้างความครอบคลุมของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรอง แล้วพบว่าเป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการส่งต่อ และดูแลตามแนวทาง การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของ
  4. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป
  5. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง และได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการร่วมใจรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน....... และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชนทุกราย
  2. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  3. กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลด เสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่องทุก 3 เดือน และ 6 เดือน

 

2 เพื่อสร้างความครอบคลุมของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรอง แล้วพบว่าเป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการส่งต่อ และดูแลตามแนวทาง การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของ
ตัวชี้วัด :

 

4 เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด :

 

5 เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง และได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างการเข้าถึงบริการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 (2) เพื่อสร้างความครอบคลุมของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรอง  แล้วพบว่าเป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการส่งต่อ และดูแลตามแนวทาง  การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของ (4) เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป (5) เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง    และได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน      ความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการร่วมใจรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน.......  และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมใจรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4155-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหะซะนะฮ์ นาราปัตย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด