กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน


“ โครงการพัฒนาการดี เด็กอายุ 0-5 ปี รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี ”

ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสีตีนุร อาแซ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการดี เด็กอายุ 0-5 ปี รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี

ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4123-01-08 เลขที่ข้อตกลง 29/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาการดี เด็กอายุ 0-5 ปี รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาการดี เด็กอายุ 0-5 ปี รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาการดี เด็กอายุ 0-5 ปี รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4123-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,049.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – ๕ ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ถ้าได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม จากระบบคลังข้อมูลสุขภาพระดับจังหวัด 2566( Health DataCenter )จำนวนเด็กทีต้องส่งเสริมพัฒนาการจำนวน 371 คน พบว่ามีพัฒนาการดีจำนวน 361 คน และมีพัฒนาการล่าช้าจำนวน 10 คน การส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้านจะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต พัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมดการบูรณาการร่วมกับชุมชน ด้วยการพัฒนาเครื่องมือให้อาสาสมัครสาธารณสุขช่วยเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามช่วงอายุเพื่อช่วยค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการผิดปกติด้านต่างๆ เร็วขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะบิงติงงี ได้ให้ความสำคัญในการตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในพื้นที่นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็ก0 -5ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
  2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 5 ปี ที่มีพัฒนาการที่ล่าช้าได้รับการกระตุ้น พบปัญหาได้รับ การส่งต่อรักษา
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก อาสาสมัคร ให้มีความรู้ความสามารถประเมินพัฒนาการเด็กได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่อสม.แกนนำ จำนวน 63 คน เพื่อออกรณรงค์ตรวจพัฒนาการเด็กในเขตรับผิดชอบ
  2. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กที่พัฒนาการล่าช้า พร้อมบุตร จำนวน 20 คน (ผู้ปกครอง 10 คน เด็กพัฒนาการล่าช้า 10 คน)
  3. กิจกรรมติดตามพัฒนาการเด็กของอสม.ในเขตรับผิดชอบ (ไม่มีค่าใช้จ่าย)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็ก ๐ – 5 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
  2. เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ได้รับการส่งต่อทุกราย
  3. ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็ก ๐ - 5 ปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็ก0 -5ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็ก ๐ – 5 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมร้อยละ 85
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 5 ปี ที่มีพัฒนาการที่ล่าช้าได้รับการกระตุ้น พบปัญหาได้รับ การส่งต่อรักษา
ตัวชี้วัด : เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ได้รับการส่งต่อทุกราย ร้อยละ100
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก อาสาสมัคร ให้มีความรู้ความสามารถประเมินพัฒนาการเด็กได้
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก อสม.มีทักษะในการตรวจและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 0 – 5 ปี ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก0 -5ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย (2) เพื่อให้เด็กแรกเกิด - 5 ปี ที่มีพัฒนาการที่ล่าช้าได้รับการกระตุ้น พบปัญหาได้รับ การส่งต่อรักษา (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก อาสาสมัคร ให้มีความรู้ความสามารถประเมินพัฒนาการเด็กได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่อสม.แกนนำ จำนวน 63 คน เพื่อออกรณรงค์ตรวจพัฒนาการเด็กในเขตรับผิดชอบ (2) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กที่พัฒนาการล่าช้า พร้อมบุตร จำนวน 20 คน (ผู้ปกครอง 10 คน เด็กพัฒนาการล่าช้า 10 คน) (3) กิจกรรมติดตามพัฒนาการเด็กของอสม.ในเขตรับผิดชอบ  (ไม่มีค่าใช้จ่าย)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาการดี เด็กอายุ 0-5 ปี รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4123-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสีตีนุร อาแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด