นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียะห์ สะแต
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2514-1-09 เลขที่ข้อตกลง 09/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2514-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในภาวะปัจจุบัน สังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก เกิดปัญหายาเสพติด ปัญหาครอบครัว ปัญหาต่างๆที่ตอนนี้สังคมไทยยังแก้ไม่ได้อีกมากมาย และในตอนนี้ปัญหาที่หนักหน่วงเป็นปัญหาใหญ่อีกปัญหาหนึ่ง ก็คือ การติดบุหรี่ของคนไทย ที่มีอัตราการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะผู้ที่สูบบุหรี่ ก็ยังไม่ให้ความสนใจต่อสิ่งเหล่านี้ว่าเป็นอันตรายต่อตนเองมากแค่ไหน เป็นการเพิ่มอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น จึงเป็นอีกปัญหาที่สมควรจะได้รับการแก้ไขอย่างยิ่ง ถึงแม้ว่ารัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันรณรงค์เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่โดยการใช้มาตรการหลายอย่าง ตั้งแต่การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นจากการสูบบุหรี่ การออกกฎหมายเกี่ยวกับบุหรี่และนโยบายขึ้นภาษีบุหรี่ แต่จากข้อมูลสถิติชี้ให้เห็นว่า การลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ไม่สามารถทำได้ในประชากรทุกกลุ่ม กลุ่มที่น่าเป็นห่วงและต้องรีบดำเนินการแก้ปัญหา คือ กลุ่มเยาวชน ซึ่งเป็นอนาคตสำคัญของประเทศ
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ จึงได้จัดทำโครงการ นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ในเด็กและเยาวชน ตลอดจนเพื่อสร้างชุมชนปลอดบุหรี่ให้เกิดขึ้น อันจะลดผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพ และความสูญเสียอันเนื่องมาจากการใช้จ่ายเพื่อซื้อบุหรี่ และการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ และเพื่อสงเสริมให้ประชาชนสุขภาพดีที่ยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างการรับรู้ในพิษภัยของบุหรี่
- เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ร้อยละ 100
- เพื่อให้สถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการแก่เด็กนักเรียนเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
102
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.นักเรียนรับรู้ในพิษภัยของบุหรี่
๒.สามารถป้องกันนักสูบหน้าใหม่ในเด็กและเยาวชน
๓.สถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างการรับรู้ในพิษภัยของบุหรี่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของการสร้างการรับรู้ในพิษภัยของบุหรี่
80.00
2
เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ชองการป้องกันนักสูบหน้าใหม่
100.00
3
เพื่อให้สถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของใช้สถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
102
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
102
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการรับรู้ในพิษภัยของบุหรี่ (2) เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ร้อยละ 100 (3) เพื่อให้สถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการแก่เด็กนักเรียนเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2514-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมารียะห์ สะแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียะห์ สะแต
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2514-1-09 เลขที่ข้อตกลง 09/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2514-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในภาวะปัจจุบัน สังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก เกิดปัญหายาเสพติด ปัญหาครอบครัว ปัญหาต่างๆที่ตอนนี้สังคมไทยยังแก้ไม่ได้อีกมากมาย และในตอนนี้ปัญหาที่หนักหน่วงเป็นปัญหาใหญ่อีกปัญหาหนึ่ง ก็คือ การติดบุหรี่ของคนไทย ที่มีอัตราการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะผู้ที่สูบบุหรี่ ก็ยังไม่ให้ความสนใจต่อสิ่งเหล่านี้ว่าเป็นอันตรายต่อตนเองมากแค่ไหน เป็นการเพิ่มอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น จึงเป็นอีกปัญหาที่สมควรจะได้รับการแก้ไขอย่างยิ่ง ถึงแม้ว่ารัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันรณรงค์เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่โดยการใช้มาตรการหลายอย่าง ตั้งแต่การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นจากการสูบบุหรี่ การออกกฎหมายเกี่ยวกับบุหรี่และนโยบายขึ้นภาษีบุหรี่ แต่จากข้อมูลสถิติชี้ให้เห็นว่า การลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ไม่สามารถทำได้ในประชากรทุกกลุ่ม กลุ่มที่น่าเป็นห่วงและต้องรีบดำเนินการแก้ปัญหา คือ กลุ่มเยาวชน ซึ่งเป็นอนาคตสำคัญของประเทศ
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ จึงได้จัดทำโครงการ นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ในเด็กและเยาวชน ตลอดจนเพื่อสร้างชุมชนปลอดบุหรี่ให้เกิดขึ้น อันจะลดผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพ และความสูญเสียอันเนื่องมาจากการใช้จ่ายเพื่อซื้อบุหรี่ และการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ และเพื่อสงเสริมให้ประชาชนสุขภาพดีที่ยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างการรับรู้ในพิษภัยของบุหรี่
- เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ร้อยละ 100
- เพื่อให้สถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการแก่เด็กนักเรียนเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 102 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.นักเรียนรับรู้ในพิษภัยของบุหรี่ ๒.สามารถป้องกันนักสูบหน้าใหม่ในเด็กและเยาวชน ๓.สถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างการรับรู้ในพิษภัยของบุหรี่ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของการสร้างการรับรู้ในพิษภัยของบุหรี่ |
80.00 |
|
||
2 | เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ร้อยละ 100 ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ชองการป้องกันนักสูบหน้าใหม่ |
100.00 |
|
||
3 | เพื่อให้สถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของใช้สถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่ |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 102 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 102 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการรับรู้ในพิษภัยของบุหรี่ (2) เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ร้อยละ 100 (3) เพื่อให้สถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการแก่เด็กนักเรียนเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
นักเรียนดี ห่างไกลบุหรี่ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2514-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมารียะห์ สะแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......