กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ วัคซีนเพื่อลูกรัก ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวคอลีเยาะ เฮาะมะ

ชื่อโครงการ วัคซีนเพื่อลูกรัก ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 4/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 29 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"วัคซีนเพื่อลูกรัก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
วัคซีนเพื่อลูกรัก ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " วัคซีนเพื่อลูกรัก ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 29 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดบริการวัคซีนพื้นฐานที่เด็กไทยทุกคนควรได้รับ โดยเน้นวัคซีนป้องกันโรค ที่เป็นปัญหาสำคัญ ซึ่งในปัจจุบันประกอบด้วยวัคซีน 8 ชนิด ได้แก่ วัคซีนวัณโรค (BCG) วัคซีนตับอักเสบบี (HB) วัคซีนรวมคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี-ฮิบ (DTP-HB-Hib) วัคซีนโปลิโอ (OPV) วัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน (MMR) วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี (JE) วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTP) และวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก (dT)การสร้างเกราะป้องกันโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ให้ลูกน้อยด้วยการฉีดวัคซีนเป็นสิ่งจำเป็น เพราะวัคซีนจะทำหน้าที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดภูมิต้านทาน และปกป้องลูกน้อยของคุณจากการเจ็บป่วยต่างๆได้ แม้ว่าวัคซีนจะไม่ใช่ยารักษาโรค แต่วัคซีนก็เป็นเครื่องป้องกันที่ช่วยให้เด็กๆ ปลอดภัยจากโรคร้ายที่มากล้ำกราย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กวัยขวบปีแรกที่มีอัตราเสี่ยงสูงในการต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย การรับวัคซีนเพื่อสร้างภูมิต้านทานเป็นวิธีที่ง่ายดาย ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการป้องกันเด็กจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ความเสี่ยงจากโรคเหล่านั้นมากมายหลายเท่า เพื่อให้ได้รับภูมิต้านทานที่ครบถ้วนเด็กจะต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์อายุทั้งหมดและควรได้รับตรงเวลาอีกด้วย จากผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-5 ปี ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี พบว่า ยังมีปัญหาเรื่องความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรคที่ยังต่ำกว่าเป้าหมาย ทำให้มีเด็กที่ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ ด้วยวัคซีนเป็นประจำทุกปี ประกอบกับผู้ปกครองขาดความรู้ และทัศนคติในการนำบุตรหลานมารับวัคซีน โดยเฉพาะมีความกลัวว่าบุตรหลานมีไข้หรือไม่สบายมากหลังจากได้รับวัคซีน ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่ง ต่อการดำเนินงานในเชิงรุกส่งผลให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีความครอบคลุมไม่บรรลุตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็ง เห็นความสำคัญในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับเด็กอายุ 0 – 5 ปีจึงจัดทำโครงการวัคซีนเพื่อลูกน้อย เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการฉีดวัคซีน และเพื่อให้เด็กในพื้นที่ตำบลกะรุบี มีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็ง รับผิดชอบดูแลในกลุ่มเด็ก 0 – 5 ปี ทั้งหมด 120 คน ยังคงพบปัญหาเรื่องการได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ในเด็ก 0 – 5 ปี ซึ่งเป็นปัญหาอุปสรรคที่พบในการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เช่น ผู้ปกครองไม่ยินยอมให้ลูกฉีดวัคซีน เพราะกลัวว่าลูกจะเป็นไข้ ไม่เห็นความสำคัญของการได้รับวัคซีนและมักจะเปรียบเทียบกับสมัยก่อนว่าการไม่ได้รับวัคซีนไม่เห็นว่าจะเป็นโรคใดๆ และปัญหาของจากการที่พ่อแม่มีไปทำงานนอกพื้นที่ทำให้ติดตามไม่ได้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็งจึงได้จัดทำโครงการวัคซีนเพื่อลูกรัก ขึ้นเพื่อเป็นการสร้างความรู้ความใจให้ผู้ปกครองได้เล็งเห็นถึงความสำคัญการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน และเพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองพาเด็กมาฉีดวัคซีน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องของวัคซีนและการดูแลหลังได้รับวัคซีน
  2. เพื่อป้องกันและลดการเกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  3. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับการวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รวบรวมข้อมูลความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเด็กอายุ 0-5 ปี
  2. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องของวัคซีนและการดูแลหลังได้รับวัคซีน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องวัคซีนและการดูแลหลังได้รับวัคซีนมากขึ้น
1.00 2.00

 

2 เพื่อป้องกันและลดการเกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เด็กอายุ 0-5 ปีได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบชุดตามเกณฑ์อายุมากขึ้น
1.00 2.00

 

3 เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับการวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กได้รับการวัคซีนครบตามเกณฑ์กำหนดมากขึ้น
1.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องของวัคซีนและการดูแลหลังได้รับวัคซีน (2) เพื่อป้องกันและลดการเกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับการวัคซีนตามเกณฑ์ที่กำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รวบรวมข้อมูลความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเด็กอายุ 0-5 ปี (2) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


วัคซีนเพื่อลูกรัก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวคอลีเยาะ เฮาะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด