กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการนักเรียน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 28 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 23,120.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงเรียนอนุบาลบางแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.451,100.157place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)   สภาพปัจจุบันโลกมีความเจริญทางวัตถุสูงมีการผลิตอาหารเพื่อบริโภคออกมาหลากหลายรูปแบบหากเรากินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน “โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ ถ้าอาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตเสริมสร้างสมรรถนะทางกายและพัฒนาของเด็กวัยเรียน  ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร  ภาวะโภชนาการเกิน โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่ถูกหลักโภชนาการ และจากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการนักเรียนโรงเรียนอนุบาลบางแก้ว  พบว่ามีนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ แนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ  ดังนั้น โรงเรียนอนุบาลบางแก้ว ได้เห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็กวัยเรียน  เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง สมรรถนะภาพทางกายที่ดี  มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย  เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างภาวะโภชนาการนักเรียน โดยการจัดกิจกรรมออกกำลังกายให้ความรู้ เรื่องการบริโภคอาหาร และการควบคุมการรับประทานอาหาร  มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียน กลุ่มที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ (โรคอ้วน) ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับความรู้เพิ่มขึ้นและพฤติกรรมสมวัย

เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2 เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการ

เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

3 เพื่อให้นักเรียนได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

เพื่อให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายอยู่ในเกณฑ์ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส ตามหลัก ของกรมอนามัย(1 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 0.00            
2 กิจกรรมออกกำลังกาย (บาสโลป)(1 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 0.00            
3 ติดตามประเมินผลภาวะโภชนาการของนักเรียน (ประเมินทุก 1 เดือนตั้งแต่ พ.ค. –ส.ค.)(1 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 0.00            
4 สรุปผลการดำเนินโครงการ(1 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 0.00            
รวม 0.00
1 อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ 2 ส ตามหลัก ของกรมอนามัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 กิจกรรมออกกำลังกาย (บาสโลป) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
3 ติดตามประเมินผลภาวะโภชนาการของนักเรียน (ประเมินทุก 1 เดือนตั้งแต่ พ.ค. –ส.ค.) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
4 สรุปผลการดำเนินโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ การเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักภาวะโภชนาการ
2. มีต้นแบบนักเรียนที่สามารถเสริมสร้างภาวะโภชนาการของนักเรียน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพนักเรียน 4. โรงเรียนลดความเสี่ยงของนักเรียนเป็นโรคผอม-อ้วน 5. นักเรียนมีพฤติกรรมการรับประทานที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2567 14:36 น.