กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตลาดนิคม ”

ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวระวิวรรณ แม่นอุดม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตลาดนิคม

ที่อยู่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4123-03-05 เลขที่ข้อตกลง 15/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตลาดนิคม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตลาดนิคม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตลาดนิคม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4123-03-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,430.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันคุณครูหรือคุณพ่อคุณแม่มักจะผลักดันให้เด็กฝึกการเขียนในขณะที่เด็กยังไม่พร้อมและกล้ามเนื้อเล็กยังไม่พัฒนาดีเท่าที่ควร ทำให้เด็กเกิดความเครียดและไม่มีความสุขในการเขียนและการเรียนอาจส่งผลลบต่อการเรียนรู้ในอนาคตต่อไปด้วย ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตลาดนิคมจึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กเพื่อให้ประสานสัมพันธ์ที่ดีระหว่างมือกับตา ตลอดจนการควบคุมกล้ามเนื้อมือและแขน ทำให้เด็กมีความสามารถในการหยิบจับสิ่งต่างๆได้อย่างมั่นคง
กล้ามเนื้อมัดเล็ก หมายถึง การใช้มือในการหยิบจับสิ่งของ ตุ๊กตา ของเล่น การดึง การกด การหยอดบล็อก ตลอดจนการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และการช่วยเหลือตนเอง เช่น การติดกระดุม การผูกเชือกรองเท้าการเทน้ำใส่แก้ว การอาบน้ำแปรงฟัน การจับช้อนส้อมในการรับประทานอาหาร เป็นต้น การพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กต้องเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความสามารถในการควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อมือและตาให้ทำงานสัมพันธ์กัน ดังนั้นการจัดกิจกรรมพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กให้กับเด็กปฐมวัยจึงเป็นเรื่องสำคัญ
จากที่ครูได้สังเกตพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตลาดนิคมทั้งหมด จำนวน 26 คน พบว่า มีเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 26.92 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตลาดนิคมจึงได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตลาดนิคม เพื่อให้ความรู้กับผู้ปกครองและครูในการสังเกตพัฒนาการที่ล่าช้าของบุตรหลาน โดยการสังเกตพัฒนาการจากข้อมูลของชุดตรวจพัฒนาการ (DSPM) การส่งเสริมพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กที่ถูกต้องและถูกวิธีได้เหมาะสมตามวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อมือของเด็กปฐมวัยให้สัมพันธ์กับประสาทตา
  2. เพื่อวางรากฐานในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในชีวิตประจำวัน
  3. เพื่อให้เด็กได้มีความพร้อมในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กสำหรับการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการการส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก (ผู้ปกครอง/ครู 30 คน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 26
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) เด็กปฐมวัยมีพัฒนาความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อมือของเด็กปฐมวัยให้สัมพันธ์กับประสาทตา 2) เด็กปฐมวัยสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในชีวิตประจำวันได้ 3) เด็กปฐมวัยมีความพร้อมในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กสำหรับการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อมือของเด็กปฐมวัยให้สัมพันธ์กับประสาทตา
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัย ร้อยละ ๙๐ สามารถใช้กล้ามเนื้อมือสัมพันธ์กับประสาทตาได้
0.00

 

2 เพื่อวางรากฐานในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัย ร้อยละ ๙๐ สามารถใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในชีวิตประจำวันได้ด้วยตนเอง
0.00

 

3 เพื่อให้เด็กได้มีความพร้อมในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กสำหรับการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัย ร้อยละ ๙๐ มีความพร้อมด้านการใช้กล้ามเนื้อมือสำหรับการเรียนระดับต่อไป
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 56
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 26
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อมือของเด็กปฐมวัยให้สัมพันธ์กับประสาทตา (2) เพื่อวางรากฐานในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในชีวิตประจำวัน (3) เพื่อให้เด็กได้มีความพร้อมในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กสำหรับการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการการส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก (ผู้ปกครอง/ครู 30 คน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตลาดนิคม จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4123-03-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวระวิวรรณ แม่นอุดม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด