กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการชุมชนรู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาซนิง อาบ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนรู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2476-2-028 เลขที่ข้อตกลง 024/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนรู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนรู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนรู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2476-2-028 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โดยใช้แนวทางการดำเนินงานที่มีชื่อว่า “ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี” ซึ่งมีหลักการดำเนินงานคือ คัดกรองประชาชน 35 ปี ขึ้นไปและจำแนกเป็น กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย หลังจากนั้นดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3 อ.(อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 2 ส. (สูบบุหรี่ สุรา) เพื่อควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยใช้กระบวนการสุขศึกษาในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพทั้งในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มปกติโดยมุ่งเน้นที่การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่เป็นสาเหตุหลักของการเกิดโรคและมีการสนับสนุนให้เกิดกระบวนการจัดการตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ภายใต้ปรัชญาและแนวคิดหลักในการพัฒนาวิถีชีวิตไทยให้ห่างไกลและปราศจากปัจจัยเสี่ยง มีปัจจัยเสริมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สร้างภูมิคุ้มกันและสุขภาวะของทั้งสังคมให้สามารถลดโรคและภัยสุขภาพโดยให้ประชาชน รับรู้ เข้าใจ ตระหนักถึงภาวะเสี่ยงสามารถปรับพฤติกรรมควบคุมป้องกันปัจจัยเสี่ยงได้ ปี 2566 ได้มีการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในพื้นที่ พบว่า มีประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง 924 คน พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 42.31 ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 2.59 คน เสี่ยงเบาหวาน ร้อยละ 3.24 ป่วยเป็นโรคเบาหวานร้อยละ 0.75 ชมรมอสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะได้เล็งเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาสุขภาพซึ่งจะเห็นว่ากลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเป็นโรคยังมีปัญหาอยู่ คือกลุ่มที่ควบคุมโรคไม่ได้ ซึ่งถ้าไม่ดูแลเป็นพิเศษ กลุ่มเสี่ยงก็จะกลายเป็นกลุ่มเป็นโรค และกลุ่มป่วยที่ควบคุมโรคไม่ได้ก็จะกลายเป็นกลุ่มที่มีโรคแทรกซ้อน ส่งผลให้เสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเป็นจำนวนมากทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และประเทศชาติ ดังนั้น ชมรมอสม. จึงเห็นความสำคัญของ“ ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี”และให้ความรู้รายบุคคลที่มุ่งเน้นในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพจึงได้นำมาบูรณาการร่วมกันเป็นกระบวนการให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยใช้ “ ปิงปองจราจรชีวิต7 สี” เป็นเครื่องมือในการจัดระดับความรุนแรงให้ความรู้รายบุคคลโดยการใช้กระบวนการดำเนินกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพในคลินิกโรคเรื้อรังคลินิกให้คำปรึกษาและคลินิกไร้พุงโดยมีทีมพยาบาลและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นที่ปรึกษาในการดูแลสุขภาพ และ อสม.เป็นเครือข่ายในการติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วย จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการ ชุมชนรู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้และทักษะที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยคิดใคร่ครวญและปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและยอมรับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมด้วยตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ กลายเป็นกลุ่มปกติร้อยละ 60
    1. กลุ่มเสี่ยง ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการติดตามจาก อสม.และเจ้าหน้าที่ร้อยละ 95 3, กลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามดูแลและส่งต่อที่ถูกต้องเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้และทักษะที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเบื้องต้นอย่างน้อย ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยคิดใคร่ครวญและปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและยอมรับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยง ร้อยละ 80 ได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้และทักษะที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยคิดใคร่ครวญและปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและยอมรับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมด้วยตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนรู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2476-2-028

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมาซนิง อาบ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด