กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาบัน


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมายัต (ศพ) ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะในตำบลสาบัน ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลสาบัน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาเรียม สะตือบา

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมายัต (ศพ) ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะในตำบลสาบัน ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลสาบัน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3049-2-12 เลขที่ข้อตกลง 12-2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมายัต (ศพ) ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะในตำบลสาบัน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาบัน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาบัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมายัต (ศพ) ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะในตำบลสาบัน ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมายัต (ศพ) ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะในตำบลสาบัน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาบัน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3049-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,130.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาบัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เมื่อมีการเสียชีวิต เกิดขึ้นกับคนในตำบล สิ่งที่จำเป็นสำหรับผู้มีชีวิตอยู่นั้น คือการจัดการศพ(มายัต) ไม่ว่าจะเป็นการอาบน้ำทำความสะอาด หรือชำระสิ่งสกปรกต่างๆที่ติดมากับศพ การจัดการศพให้ถูกต้องตามสุขลัษณะและตามหลักการศาสนาบัญญัติ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะหากว่าผู้จัดการศพ ไม่มีความรู้ ในการจัดการศพให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ อาจนำไปสู่การติดเชื้อต่างๆจากศพ หรือเกิดจากแพร่กระจายเชื้อโรคที่มากับศพก็เป็นได้ พิธีศพของมุสลิมจะใช้วิธีการฝั่ง โดยปกติแล้วจะต้องฝังภายใน 24 ชั่วโมงเพราะถือว่าถ้าไว้นานจะให้ผู้มีชีวิตอยู่ต้องเสียใจเพิ่มมากขึ้น ยกเว้นศพที่มีปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายบ้านเมือง การปฏิบัติต่อศพ (มายัต) ไปฝังนั้น จะมีการอาบน้ำทำความสะอาดศพ และห่อด้วยผ้าขาวต่อจากนั้นก็จะเป็นพิธีละหมาดให้แก่ผู้ตาย ซึ่งเรียกว่า ละหมาดญะนาซะห์ ซึ่งอาจจะทำที่บ้านของผู้ตาย หรือนำศพไปทำพิธีละหมาดที่มัสยิดก็ได้ เมื่อมีการเคลื่อนย้ายศพ ผู้ที่นั่งอยู่หรือทำงานอยู่ในทางศพผ่าน จะยืนขึ้นเป็นการเคารพศพและตามไปส่งศพถึงกูโบร์ (สุสาน) จากกนั้นทำการฝังศพ
ดังนั้น สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลสาบัน ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำศพ (มายัต) ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะในตำบลสาบัน ปีงบประมาณ 2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในตำบลสาบัน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอาบน้ำศพ (มายัต) การห่อศพ (มายัต) การจัดการศพ (มายัต) ที่ถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม และได้รับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
  2. เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในตำบลสาบัน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพ ตามหลักสุขลักษณะสามารถป้องกันการแพร่เชื้อ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากศพ (มายัต)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. วันแรก ประชาชนตำบลสาบัน (ชาย) จำนวน 20 คน กิจกรรมอบรมให้ความรู้ " การอาบน้ำศพ (มายัต) การห่อศพ (มายัต) การจัดการศพที่ถูกต้องตามหลักศาสนา"
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ "การป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพ (มายัต) ตามสุขลักษณะและสามารถป้องกันการแพร่กระจายเชื่อโรคต่างๆ
  3. กิจกรรมปฏิบัติจริง " การเตรียมอุปกรณ์อาบน้ำศพ (มายัต) ขั้นตอนการอาบน้ำศพ (มายัต) และการห่อศพ (มายัต) ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการแพร่กระจาย"
  4. วันที่สอง -ประชาชนตำบลสาบัน (หญิง) จำนวน 20 คน 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ “การอาบน้ำศพ (มายัต) การห่อศพ (มายัต) การจัดการศพที่ถูกต้องตามหลักศาสนา”
  5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ “การป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพ (มายัต) ตามหลักสุขลักษณะ และสามารถป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคต่างๆ
  6. กิจกรรมปฏิบัติจริง (13.00-16.00 น.) หัวข้อ “การเตรียมอุปกรณ์อาบน้ำศพ (มายัต) ขั้นตอนการอาบน้ำศพ (มายัต) และการห่อศพ (มายัต) ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการแพร่กระจ่าย
  7. อบรมให้วามรู้
  8. อบรมให้ความรู้
  9. ปฏิบัติจริง
  10. อบรมให้ความรู้
  11. อบรมให้ความรู้
  12. การปฏิบัติจริง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในตำบลสาบัน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอาบน้ำศพ (มายัต)) การห่อศพ (มายัต) การจัดการศพ (มายัต) ที่ถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม และได้รับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง     2. ทำให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในตำบลสาบัน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพ ตามหลักสุขลักษณะสามารถป้องกันการแพร่เชื้อที่อาจจะเกิดขึ้นจากศพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในตำบลสาบัน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอาบน้ำศพ (มายัต) การห่อศพ (มายัต) การจัดการศพ (มายัต) ที่ถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม และได้รับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในตำบลสาบัน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอาบน้ำศพ (มายัต) การห่อศพ (มายัต) การจัดการศพ (มายัต) ที่ถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม และได้รับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง

 

2 เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในตำบลสาบัน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพ ตามหลักสุขลักษณะสามารถป้องกันการแพร่เชื้อ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากศพ (มายัต)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในตำบลสาบัน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพ ตามหลักสุขลักษณะสามารถป้องกันการแพร่เชื้อ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากศพ (มายัต)

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในตำบลสาบัน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอาบน้ำศพ (มายัต) การห่อศพ (มายัต) การจัดการศพ (มายัต) ที่ถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม และได้รับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง (2) เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในตำบลสาบัน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพ ตามหลักสุขลักษณะสามารถป้องกันการแพร่เชื้อ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากศพ (มายัต)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วันแรก ประชาชนตำบลสาบัน (ชาย) จำนวน 20 คน กิจกรรมอบรมให้ความรู้ " การอาบน้ำศพ (มายัต) การห่อศพ (มายัต) การจัดการศพที่ถูกต้องตามหลักศาสนา" (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ "การป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพ (มายัต) ตามสุขลักษณะและสามารถป้องกันการแพร่กระจายเชื่อโรคต่างๆ (3) กิจกรรมปฏิบัติจริง " การเตรียมอุปกรณ์อาบน้ำศพ (มายัต) ขั้นตอนการอาบน้ำศพ (มายัต) และการห่อศพ (มายัต) ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการแพร่กระจาย" (4) วันที่สอง -ประชาชนตำบลสาบัน (หญิง) จำนวน 20 คน  1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้  “การอาบน้ำศพ (มายัต) การห่อศพ (มายัต) การจัดการศพที่ถูกต้องตามหลักศาสนา” (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ “การป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพ (มายัต) ตามหลักสุขลักษณะ และสามารถป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคต่างๆ (6) กิจกรรมปฏิบัติจริง (13.00-16.00 น.) หัวข้อ “การเตรียมอุปกรณ์อาบน้ำศพ (มายัต) ขั้นตอนการอาบน้ำศพ (มายัต) และการห่อศพ (มายัต) ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการแพร่กระจ่าย (7) อบรมให้วามรู้ (8) อบรมให้ความรู้ (9) ปฏิบัติจริง (10) อบรมให้ความรู้ (11) อบรมให้ความรู้ (12) การปฏิบัติจริง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมายัต (ศพ) ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะในตำบลสาบัน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3049-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมาเรียม สะตือบา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด