กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าเสา


“ โครงการมหัศจรรย์ 2500 วัน เเรกของชีวิต สู่ครอบครัวคุณภาพ ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางอัมพร ศักดี

ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 2500 วัน เเรกของชีวิต สู่ครอบครัวคุณภาพ ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ 2500 วัน เเรกของชีวิต สู่ครอบครัวคุณภาพ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 2500 วัน เเรกของชีวิต สู่ครอบครัวคุณภาพ ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 2500 วัน เเรกของชีวิต สู่ครอบครัวคุณภาพ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,925.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงาน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ไปสู่ “ตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus (พลัส) สู่ 2,500 วัน” ตำบลที่มีการดำเนินงานดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กแรกเกิด – 5 ปี เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยไทยเติบโตเต็มศักยภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่านกลไกความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนและท้องถิ่น ระดับตำบล สอดคล้องนโยบายรัฐบาลขับเคลื่อนประเทศสู่เศรษฐกิจและสังคม
ผลการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเสาที่ดำเนินการได้บรรลุเป้าหมายประกอบด้วย หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์จำนวนทั้งหมด 16 คน มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 81.25 ,หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 68.75และหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ จำนวนทั้งหมด 14 คน ได้รับการดูแลครบ 3 ครั้ง จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 85.71 ซึ่งเป้าหมายกำหนดไว้ ร้อยละ 75 , 75 และ 75 ตามลำดับ ( HDC : 30 กันยายน 2566)ทารกอายุต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน จำนวนทั้งหมด 27 คน กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 85.19 ผลการคัดกรองพัฒนาการเด็กด้วย DSPM ตามกลุ่มวัยจำนวนทั้งหมด 183 คน ได้รับการคัดกรองจำนวน 166 คน คิดเป็นร้อยละ 90.71ตรวจพัฒนาการเด็กพบสงสัยล่าช้า จำนวน 26 คน ส่งต่อทันที 4 คน คิดเป็น ร้อยละ 18.07 (เป้าหมาย ร้อยละ 20 )( HDC : 30 กันยายน 2566) จากสถานการณ์ดังกล่าว พบว่างานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก เป็นงานที่สำคัญที่จะทำให้เด็กเติบโตมาเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพ โดยจะต้องมีกระบวนการดูแลพ่อแม่ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ และการดูแลในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อส่งผลให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย และเด็กมีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน และจำเป็นต้องมีกระบวนการบูรณาการ 4 กระทรวงหลัก เพื่อเป้าหมายเด็กไทยแข็งแรง เก่งดี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ตามแนวทางการพัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน เน้นฐานการแก้ปัญหา เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา โดยการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และครอบครัวจึงจัดทำโครงการโครงการมหัศจรรย์ 2,500 วัน แรกของชีวิต สู่ครอบครัวคุณภาพ เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก แม่เกิดรอดลูกปลอดภัย และเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการสมวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำนมแม่ตำบลท่าเสาในการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี
  2. 2.เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในการดูแลส่งเสริมการดูแลสุขภาพอย่างสมวัย
  3. 3.เพื่อจัดตั้งภาคีเครือข่ายอนามัยแม่และเด็กและขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 2,500 วัน แรกของชีวิต ในตำบลท่าเสา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เสนอเเผนงาน
  2. จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อเเม่
  3. ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์
  4. เเต่งตั้งคณะกรรมการ
  5. จัดอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 13
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.แกนนำนมแม่มีความรู้ในการดูแลและให้คำแนะนำหญิงตั้งครรภ์และสามารถใช้สมุด DSPM ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการเบื้องต้นได้ 2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ สมุด DSPM ในการประเมินพัฒนาการให้กับบุตรหลานในเบื้องต้นได้ 3. เกิดภาคีเครือข่ายอนามัยแม่และเด็กและขับเคลื่อนงาน 2,500 วัน สู่มาตรฐานบริการที่มีคุณภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำนมแม่ตำบลท่าเสาในการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด :
100.00

 

2 2.เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในการดูแลส่งเสริมการดูแลสุขภาพอย่างสมวัย
ตัวชี้วัด :
80.00

 

3 3.เพื่อจัดตั้งภาคีเครือข่ายอนามัยแม่และเด็กและขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 2,500 วัน แรกของชีวิต ในตำบลท่าเสา
ตัวชี้วัด :
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 33
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 13
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำนมแม่ตำบลท่าเสาในการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5 ปี (2) 2.เพื่ออบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในการดูแลส่งเสริมการดูแลสุขภาพอย่างสมวัย (3) 3.เพื่อจัดตั้งภาคีเครือข่ายอนามัยแม่และเด็กและขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 2,500 วัน แรกของชีวิต ในตำบลท่าเสา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เสนอเเผนงาน (2) จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อเเม่ (3) ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ (4) เเต่งตั้งคณะกรรมการ (5) จัดอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหัศจรรย์ 2500 วัน เเรกของชีวิต สู่ครอบครัวคุณภาพ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอัมพร ศักดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด