กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี
รหัสโครงการ L7250-2-24
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมราชาวดี
วันที่อนุมัติ 3 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 28,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายกมลพันธ์ กุณฑโร ตำแหน่ง ประธานชมรมราชาวดี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.197649,100.599607place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ใจกลางเมือง และชลาทัศน์ มีประชากรรับผิดชอบในพื้นที่ทั้งหมด 19,779 คน  ซึ่งมีอัตราป่วยเป็นโรคเบาหวาน 1,884 คน โรคความดันโลหิตสูง 3,310 คน, โรคหัวใจ 48 คน รวมผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจำนวน 5,242 คน คิดเป็นร้อยละ 26.5 และมีแกนนำทางด้านสุขภาพ อยู่ 209 คน เป็นกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ( NCDs ) กลุ่มเสี่ยง 50 คน คิดเป็นร้อยละ 23.92 และเป็นกลุ่มป่วย 115 คน คิดเป็นร้อยละ 55.02 ซึ่งต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถนำไปใช้กับกับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพแกนนำด้านสุขภาพ พบปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง( NCDs ) ปัญหาดังกล่าวเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว รวมถึงชุมชน และส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจ ซึ่งเกิดจากภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นตามมา ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ใจกลางเมือง และชลาทัศน์ได้เห็นความสำคัญถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้รวมกลุ่มแกนนำเพื่อจัดตั้งชมรมลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังราชาวดีขึ้นมา เพื่อส่งเสริม พัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง( NCDs ) และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนกับแกนนำสุขภาพในชมรมจึงได้จัดทำโครงการนี้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเสริมสร้างแกนนำมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการสุขภาพตนเอง

1.กลุ่มแกนนำสุขภาพมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันคิดและเกิดบุคคลต้นแบบ ไม่น้อยกว่า 5 คน

5.00
2 2. เพื่อประเมินกลุ่มแกนนำถึงภาวะสุขภาพของตนเอง
  1. กลุ่มแกนนำสามารถประเมินภาวะสุขภาพของตนเองได้ คิดเป็นร้อยละ 100
100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพ(3 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 2,000.00            
2 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และออกกำลังกาย จำนวน 4 ครั้ง(3 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 8,400.00            
3 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมฐานเสริมพลังกลุ่มแกนนำสุขภาพ(3 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 9,000.00            
4 กิจกรรมที่ 4 กิจกรรม ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ(3 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 8,800.00            
รวม 28,200.00
1 กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 2,000.00 0 0.00
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าเครื่องวัดความดัน 50 2,000.00 -
2 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และออกกำลังกาย จำนวน 4 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 200 8,400.00 0 0.00
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ครั้งที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทการเป็นแกนนำด้านสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง 50 2,700.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ครั้งที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างมีประสิทธิภาพและการออกกำลังกายที่เหมาะสม 50 1,500.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ครั้งที่3 กิจกรรมจัดกระบวนการให้กลุ่มแกนนำมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรังร่วมกัน 50 1,500.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ครั้งที่ 4 กิจกกรมให้ความรู้ พัฒนาสุขภาพจิต ฝึกบริหารสมอง ลดความเครียดพร้อมที่จะเป็นแกนนำสุขภาพ 50 2,700.00 -
3 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมฐานเสริมพลังกลุ่มแกนนำสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 100 9,000.00 0 0.00
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 3,000.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารกลางวัน 50 3,000.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าตอบแทนวิทยากร 0 3,000.00 -
4 กิจกรรมที่ 4 กิจกรรม ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 100 8,800.00 0 0.00
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 3,000.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารกลางวัน 50 3,000.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าวัสดุอื่นที่เกี่ยวข้อง 0 2,000.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าป้ายไวนิล 0 500.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าจัดทำสรุปเล่มโครงการ 0 300.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มแกนนำสุขภาพรับรู้ถึงภาวะสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
    1. กลุ่มแกนนำสุขภาพมีความรู้ มีทักษะในการจัดการสุขภาพของตนเอง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 เม.ย. 2567 14:16 น.