กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการดูแลใส่ใจสุขภาพผู้สูงวัยในชุมชน ชมรมผู้สูงอายุศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
รหัสโครงการ L7250-2-18
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้สูงอายุ ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
วันที่อนุมัติ 3 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 18,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอารณีย์ ศุปการ ตำแหน่ง สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.205142,100.599264place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือเมื่อประเทศใดมี ประชากร อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป เกินร้อยละ ๑๐ หรือ ประชากรอายุ ๖๕ ขึ้นไป เกินร้อยละ ๗ ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี ๒๕๖๗ หรืออีก ๙ ปีข้างหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบต่ออัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมที่ ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่างๆทั่วไปเริ่มอ่อนแอและเกิดโรคง่าย ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึงมีการ เปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม
ชมรมผู้สูงอายุศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมืองได้ดำเนินการชมรมมาเป็นปีที่ 7 มีสมาชิกจำนวน 40 คน  จากการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจร้อยละ ๙๖ ต้องการให้มีกิจกรรมนี้อย่างต่อเนื่อง แต่จากสถานการณ์โควิด-19 ทำให้การดำเนินงานชมรมได้หยุดดำเนินการ ในปี 2567 จึงมีแนวคิดให้ชมรมผู้สูงอายุได้ดำเนินกิจกรรมต่อไปรวมทั้งข้อมูลผู้สูงอายุของศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมืองทั้ง ๖ ชุมชน มีจำนวน ๑,๙๗๐ คน เป็นผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้ ๑,๒๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๑๔ ผู้สูงอายุช่วยเหลือตัวเองได้บ้างติดบ้าน ๑๒๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๓๔ ผู้สูงอายุนอนติดเตียง ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๕๑ และพบว่ามากว่าร้อยละ ๗๐ ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและหากได้รับการคัดกรอง 9 ด้าน ตามเกณฑ์ คือ ๑. ความคิดความจ้า ๒. การเคลื่อนไหวร่างกาย ๓. การขาดสารอาหาร ๔. การมองเห็น ๕. การได้ยิน ๖. การซึมเศร้า ๗. การกลันปัสสาวะ ๘. การปฏิบัติกิจวัตรประจ้าวัน ๙. สุขภาพช่องปาก รวมทั้งการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสมจะส่งผลให้ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนและอุบัติเหตุได้ ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและป้องกันภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวจึงได้ทำโครงการเพื่อชีวิตสดใสวัยสูงอายุขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่เป็นภาระแก่บุตรหลาน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี

1.ชมรมผู้สูงอายุคงสภาพชมรมผู้สูงอายุระดับดี

100.00
2 2.เพื่อพัฒนาชมรมผู้สูงอายุศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมืองให้มีความเข้มแข็ง

2.ชมรมผู้สูงอายุศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมืองมีมีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ   ทุกเดือน

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมให้ความรู้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ(3 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 10,000.00            
2 กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมทักษะเรียนรู้สูงวัยมีคุณค่า ส่งเสริมสุขภาพกายใจแข็งแรง(3 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 1,200.00            
3 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมอื่น(3 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 7,100.00            
รวม 18,300.00
1 กิจกรรมที่ 1 การฝึกอบรมให้ความรู้สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 160 10,000.00 0 0.00
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมที่ 1.1 ภัยเงียบของยาแก้ปวด – ข้อเข่าเสื่อม 40 4,400.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมที่ 1.2 โรคหลอดเลือดสมอง-หัวใจ – ภัยสุขภาพ 40 1,200.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมที่ 1.3 อาหารสุขภาพ ลด หวาน มัน เค็ม เน้นผัก และผลไม้ 40 3,200.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมที่ 1.4 ทักษะสมอง ป้องกันภาวะสมองเสื่อ 40 1,200.00 -
2 กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมทักษะเรียนรู้สูงวัยมีคุณค่า ส่งเสริมสุขภาพกายใจแข็งแรง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 1,200.00 0 0.00
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 1,200.00 -
3 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมอื่น กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 7,100.00 0 0.00
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 2,400.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารกลางวัน 40 2,400.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ 0 2,000.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าจัดทำเอกสารรูปเล่ม 0 300.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชมรมผู้สูงอายุศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมืองให้มีความเข้มแข็งในการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ   ทุกเดือน
2.สมาชิกชมรมผู้สูงอายุศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมืองมีสุขภาพกายและจิตที่ดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 เม.ย. 2567 09:57 น.