โครงการป้องกันการจมน้ำของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันการจมน้ำของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง ”
ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการจมน้ำของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง
ที่อยู่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2540-3-0006 เลขที่ข้อตกลง 022/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2567 ถึง 8 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันการจมน้ำของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการจมน้ำของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันการจมน้ำของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2540-3-0006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2567 - 8 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การจมน้ำเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งสูงมากกว่าการเสียชีวิตจากโรคติดเชื้อและโรคไม่ติดเชื้อ และสูงมากกว่าอุบัติเหตุจากการจราจรถึง 2 เท่า เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เริ่มโตและซน จะเริ่มออกไปเล่นนอกบ้าน การจมน้ำสูง มักเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของเด็ก การที่เด็กว่ายน้ำไม่เป็น และการช่วยเหลือที่ไม่ถูกวิธีโดยส่วนใหญ่จะเห็นว่าเด็กวัยนี้จะเสียชีวิตพร้อมกันครั้งละหลายๆคน เนื่องจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของเด็ก พอเห็นเพื่อนหรือน้องตกน้ำคิดว่าตัวเองว่ายน้ำเป็นจึงกระโดดลงไปช่วย แต่สุดท้ายจะกอดคอกันเสียชีวิต แหล่งน้ำน้ำที่พบเด็กจมน้ำคือแหล่งน้ำตามธรรมชาติเช่น บ่อขุดเพื่อการเกษตร คลอง แม่น้ำ บึงนน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง จึงได้จัดทำโครงการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย ประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อเป็นการให้ความรู้แก่ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รู้ถึงหลังการปฏิบัติเพื่อเอาชีวิตรอดเมื่ออยู่ในสถานการณ์อันตรายในน้ำ รวมถึงแนวทางการเฝ้าระวังและป้องกันระว่างครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองกับเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง เพื่อลดความเสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิตจากการจมน้ำได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กมีความรู้ทักษะในการว่ายน้ำ
- เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ในการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ทักษะในการว่ายน้ำ การช่วเหลือชีวิตจากการจมน้ำ
- สาธิตการป้องกันการจมน้ำ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
39
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก
2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำได้
3.ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง รู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้ทักษะในการว่ายน้ำ การช่วเหลือชีวิตจากการจมน้ำ
วันที่ 28 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-ลงทะเบียน
-พิธีเปิด
-ให้ความเกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ
-ให้ความรู้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำได้
-ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก
-ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง รู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้ถูกต้อง
0
0
2. สาธิตการป้องกันการจมน้ำ
วันที่ 28 สิงหาคม 2567 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สอนทักษะ -การเอาชีวิตรอดในน้ำ
-การใช้อุปกรณ์ช่วยในการเอาชีวิตรอด
-พื้นฐานทักษะในการว่ายน้ำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำได้
๒.ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก
๓.ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง รู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้ถูกต้อง
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กมีความรู้ทักษะในการว่ายน้ำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้งมีทักษะในการว่ายน้ำ
0.10
0.10
2
เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ในการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำ
ตัวชี้วัด : ร้อยล่ะของผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง สามารถช่วยเหลือผู้จมน้ำได้
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
39
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
39
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีความรู้ทักษะในการว่ายน้ำ (2) เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ในการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ทักษะในการว่ายน้ำ การช่วเหลือชีวิตจากการจมน้ำ (2) สาธิตการป้องกันการจมน้ำ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันการจมน้ำของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2540-3-0006
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันการจมน้ำของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง ”
ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2540-3-0006 เลขที่ข้อตกลง 022/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2567 ถึง 8 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันการจมน้ำของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการจมน้ำของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันการจมน้ำของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2540-3-0006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2567 - 8 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การจมน้ำเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งสูงมากกว่าการเสียชีวิตจากโรคติดเชื้อและโรคไม่ติดเชื้อ และสูงมากกว่าอุบัติเหตุจากการจราจรถึง 2 เท่า เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เริ่มโตและซน จะเริ่มออกไปเล่นนอกบ้าน การจมน้ำสูง มักเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของเด็ก การที่เด็กว่ายน้ำไม่เป็น และการช่วยเหลือที่ไม่ถูกวิธีโดยส่วนใหญ่จะเห็นว่าเด็กวัยนี้จะเสียชีวิตพร้อมกันครั้งละหลายๆคน เนื่องจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของเด็ก พอเห็นเพื่อนหรือน้องตกน้ำคิดว่าตัวเองว่ายน้ำเป็นจึงกระโดดลงไปช่วย แต่สุดท้ายจะกอดคอกันเสียชีวิต แหล่งน้ำน้ำที่พบเด็กจมน้ำคือแหล่งน้ำตามธรรมชาติเช่น บ่อขุดเพื่อการเกษตร คลอง แม่น้ำ บึงนน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง จึงได้จัดทำโครงการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย ประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อเป็นการให้ความรู้แก่ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รู้ถึงหลังการปฏิบัติเพื่อเอาชีวิตรอดเมื่ออยู่ในสถานการณ์อันตรายในน้ำ รวมถึงแนวทางการเฝ้าระวังและป้องกันระว่างครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองกับเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง เพื่อลดความเสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิตจากการจมน้ำได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กมีความรู้ทักษะในการว่ายน้ำ
- เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ในการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ทักษะในการว่ายน้ำ การช่วเหลือชีวิตจากการจมน้ำ
- สาธิตการป้องกันการจมน้ำ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 39 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำได้ 3.ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง รู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ทักษะในการว่ายน้ำ การช่วเหลือชีวิตจากการจมน้ำ |
||
วันที่ 28 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-ลงทะเบียน -พิธีเปิด -ให้ความเกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ -ให้ความรู้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำได้
-ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก
|
0 | 0 |
2. สาธิตการป้องกันการจมน้ำ |
||
วันที่ 28 สิงหาคม 2567 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำสอนทักษะ -การเอาชีวิตรอดในน้ำ -การใช้อุปกรณ์ช่วยในการเอาชีวิตรอด -พื้นฐานทักษะในการว่ายน้ำ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีทักษะ การเอาตัวรอดจากการจมน้ำได้
๒.ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็ก
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กมีความรู้ทักษะในการว่ายน้ำ ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้งมีทักษะในการว่ายน้ำ |
0.10 | 0.10 |
|
|
2 | เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ในการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำ ตัวชี้วัด : ร้อยล่ะของผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง สามารถช่วยเหลือผู้จมน้ำได้ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 39 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 39 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีความรู้ทักษะในการว่ายน้ำ (2) เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง มีความรู้ในการช่วยเหลือชีวิตจากการจมน้ำ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ทักษะในการว่ายน้ำ การช่วเหลือชีวิตจากการจมน้ำ (2) สาธิตการป้องกันการจมน้ำ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันการจมน้ำของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหัวโค้ง จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2540-3-0006
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......