กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กละเยาวชนเทศบาลเมืองตะลุบัน ประจำปี 2567
รหัสโครงการ 67 - L7010 - 01 - 01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองตะลุบัน
วันที่อนุมัติ 9 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 เมษายน 2567 - 30 เมษายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 มิถุนายน 2567
งบประมาณ 99,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางดียานา ประจงไสย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะลุปัน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 18 เม.ย. 2567 18 เม.ย. 2567 99,850.00
รวมงบประมาณ 99,850.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือการเข้าสุนัต คือการตัดแต่ง เพื่อขจัดความสกปรก จะทำให้สามารถดูแลทำความสะอาดได้ดีขึ้น และป้องกันการติดโรคบางชนิด เช่น HIV ตับอักเสบ มะเร็ง เป็นต้น ในบทความตามวิชาการแพทย์ที่ได้มีการศึกษาวิจัยในปัจจุบันที่ได้ศึกษาพัฒนาการของหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นอวัยวะที่มีอยู่ตามปกติ ปกคลุมส่วนปลายของอวัยวะเพศอยู่ อย่างไรก็ดีเมื่อหนังหุ้มปลายเปิดใหม่ๆ จะยังไม่สามารถเปิดได้หมดเพราะยังมีเยื่อบางๆติดยึดอยู่กับปลายอวัยวะเพศ มุสลิมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยส่วนใหญ่ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย มักทำกับหมอบ้าน หรือที่เรียกกันว่า โต๊ะมูเด็ง ซึ่งที่ผ่านมาพบว่า การทำสุนัตกับโต๊ะมูเด็ง มักจะมีเหตุการณ์เลือดออกมาก ทำให้เกิดภาวะช็อกหรือการติดเชื้อ ในช่วงหลังเริ่มมีการใช้ยาชาช่วยลดความเจ็บปวด และใช้แอลกอฮอล์ช่วยทำความสะอาดก่อนขลิบ หลังจากการขลิบเสร็จมีทั้งแผลที่ติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ ปัจจุบันการแพทย์สมัยใหม่สามารถเข้าถึงได้ง่าย มีการใช้เครื่องมือที่สะอาดและวิธีการ ที่ปลอดภัยมากขึ้น การขลิบสมัยใหม่มีทางเลือกมากมาย เช่น การจัดเข้าสุนัตหมู่ ซึ่งดำเนินการโดยกลุ่มบุคลากรสาธารณสุขที่ได้รับการฝึกฝนจนชำนาญ
      ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองตะลุบัน ได้เล็งเห็นตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นต่อการจัดการแก้ไขปัญหาสภาวะสุขภาพในกลุ่มเด็กและเยาวชนชาย จึงได้จัดทำโครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชตำบลตะลุบัน 2567 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในเทศบาลเมืองตะลุบัน สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและการป้องกันโรค ที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์

อัตราการติดเชื้อและภาวะเลือดออกมาก จากการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายลดลง

2 เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจถูกต้องตามหลักสุขอนามัยในการดูแลตนเองหลังเข้าสุนัต

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 67
1 กิจกรรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ(23 เม.ย. 2567-23 เม.ย. 2567) 8,250.00  
2 กิจกรรมการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย(23 เม.ย. 2567-23 เม.ย. 2567) 91,600.00  
รวม 99,850.00
1 กิจกรรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 70 8,250.00 0 0.00
23 เม.ย. 67 กิจกรรมให้ความรู้ การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) แก่เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค 70 8,250.00 -
2 กิจกรรมการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 70 91,600.00 0 0.00
23 เม.ย. 67 กิจกรรมการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย 70 91,600.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) อย่างถูกต้องปลอดภัยสามารถลดภาวะเสี่ยง ต่อการติดเชื้อและภาวะเลือดออกมาก การอักเสบรุนแรง และการติดเชื้อ
      2. มีความรู้ ความเข้าใจและมตระหนักในการป้องกันโรคติดเชื้อแก่เด็ก เยาวชน ผู้ปกครองและชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 เม.ย. 2567 00:00 น.