กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี


“ วัยรุ่นไทยยุค 4.0 ร่วมใจแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ”

ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม รพ.ตะโหมด

ชื่อโครงการ วัยรุ่นไทยยุค 4.0 ร่วมใจแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม

ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L7575-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 14 กุมภาพันธ์ 2561


กิตติกรรมประกาศ

"วัยรุ่นไทยยุค 4.0 ร่วมใจแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
วัยรุ่นไทยยุค 4.0 ร่วมใจแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " วัยรุ่นไทยยุค 4.0 ร่วมใจแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L7575-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 กุมภาพันธ์ 2561 - 14 กุมภาพันธ์ 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยรุ่นเป็นวัยแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกาย อารมณ์ และพฤติกรรม เป็นช่วง รอยต่อของความเป็นเด็กกับความเป็นผู้ใหญ่ ร้อยละ ๒๒.๑ ของประชากรทั้งหมดเป็นวัยรุ่นและเยาวชนอายุ ๑๐-๒๔ ปี รัฐบาลคาดหวังให้เยาวชนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ แต่ด้วยอิทธิพลของเทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคม ทำให้ปัญหาในวัยรุ่นทวีความรุ่นแรงมากขึ้น ดังนั้น การพัฒนาให้วัยรุ่นมีจิตสำนึกที่ดี มีการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงรอบตัว เพื่อการดำรงชีวิตที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในด้านต่างๆ ต่อไป เช่น การทำร้ายตนเอง การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา การติดยาเสพติด การท้องก่อนวัยอันควร ที่เป็นผลกระทบต่อตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ปลุกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด และป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
  2. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัย อันควรและการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม
  3. เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เยาวชนมีจิตสำนึกที่ดี
    2. เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัย อันควรและการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม
    3. เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๑. ระยะเวลาดำเนินการ วันที่  วันที่  ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ (ครึ่งวัน) ๒. กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกชมรม To Be Number One เยาวชนนักเรียนชั้น ม.๒ โรงเรียนตะโหมด จำนวน ๒๐๐ คน ๓. สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ดังนี้ กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในเด็กและเยาวชน/ทักษะการหลีกเลี่ยงยาเสพติด กิจกรรมโต้วาทีหัวข้อ “การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น”
    กิจกรรม To Be Number One (Idolของฉัน) กิจกรรมวาดภาพระบายสี สื่ออารมณ์และความคิดในวัยรุ่น
    สรุปการใช้งบประมาณ - งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวน  ๗,๒๐๐ บาท - งบประมาณที่ใช้จริง     จำนวน  ๗,๒๐๐ บาท
    ดังรายการต่อไปนี้         ๑. ค่าอาหารว่างจำนวน ๒๐๐ คน คนละ ๑ มื้อๆละ ๒๐ บาท                  เป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท ๒. ค่าสมนาคุณวิทยากร/พิธีกร จำนวน ๒ ชม. ชม.ละ 600 บาท เป็นเงิน ๑,๒๐๐ บาท         ๓. ค่าวัสดุตกแต่งเวที วัสดุวาดภาพระบายสี และอื่นๆ         เป็นเงิน ๒,๐๐๐ บาท               รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๗,๒๐๐  บาท (เจ็ดพันสองร้อยบาทถ้วน) ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ ๑. ขาดการประสานงานที่เป็นระบบเนื่องจากต้องร่วมงานกับโรงเรียนจึงทำให้ไม่สามารถติดต่อประสานงานได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากมีการเรียนการสอน ๒. ควรจัดให้มีโครงการอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยเรียน ๓. นักเรียนควรมีความตระหนักถึงความสำคัญของการจัดโครงการในครั้งนี้เพื่อเป็นการลดอัตราการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัย ๔. เวลาในการจัดโครงการน้อยเกินไปเมื่อเปรียบเทียบกับกิจกรรม ดังนั้นควรเพิ่มเวลาในการจัดโครงการให้มากกว่านี้
    ๕. สถานที่ในการจัดโครงการยังมีปัญหาในเรื่องความสกปรกในบางจุด และมีอากาศร้อน
    ๗. แนวทางการพัฒนาหรือแนวทางในการปรับปรุงงาน ควรมีเตรียมเวลาสำหรับการจัดโครงการให้มากกว่านี้ เพื่อให้เกิดความรอบขอบในด้านเอกสารและการเตรียมสถานที่เพื่อลดอุปสรรคในการทำงาน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อรณรงค์ปลุกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด และป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัย อันควรและการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ปลุกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด และป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (2)  เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัย อันควรและการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม  (3) เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    วัยรุ่นไทยยุค 4.0 ร่วมใจแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 61-L7575-1-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม รพ.ตะโหมด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด