กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส


“ โครงการรวมพลังชุมชน เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ”

ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังชุมชน เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ

ที่อยู่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1521-01-07 เลขที่ข้อตกลง ........./2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังชุมชน เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังชุมชน เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังชุมชน เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1521-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม    เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด เนื่องจากเชื้อโรคจะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้นเจริญเติบโตได้รวดเร็ว สามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและเร็วขึ้น เช่นโรคติดต่อทางระบบหายใจ (ไข้หวัดใหญ่, ปอดบวม) โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ(ไข้เลือดออก) และโรคติดต่อทางอาหาร (อาหารเป็นพิษ) และโรคติดต่ออื่นๆ (มือเท้าปาก, ตาแดง,    เลปโตสไปโรซิส) และโรคอุบัติใหม่ที่ระบาดไปทั่วโลกในปัจจุบันนี้คือ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID๑๙)และโรคฝีดาษวานร โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางการป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนในพื้นที่จะต้องรวดเร็ว ทันเหตุการณ์      จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพภายใต้การมีส่วนร่วมจากภาคท้องถิ่นและภาคประชาชน วางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ โดยการดำเนินงานในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ  ร่วมประเมินผล และร่วมรับผิดชอบ”ในทุกระดับ เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหา จึงจะสามารถแก้ไขต้นตอของปัญหา  การเกิดโรค ประชาชนจะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ภายใต้ศักยภาพพื้นที่ของตนเอง หน่วยงานเกี่ยวข้องทุกระดับให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพที่แท้จริงของพื้นที่เป็นหลัก สามารถเชื่อมโยงผสมผสานแนวคิด องค์ความรู้ เข้ากับบริบทของพื้นที่ จึงจะทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไปในอนาคต สถานการณโรคไขเลือดออก ประเทศไทย ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2566 ถึง วันที่ 23 ธันวาคม 2566        (ขอมูลจากระบบรายงานการเฝาระวังโรค 506 กองระบาดวิทยา) ประเทศไทย มีรายงานผูปวยโรคไขเลือดออก (Dengue fever : DF ,Dengue hemorrhagic fever : DHF ,Dengue shock syndrome : DSS) สะสมรวม 153,734 ราย คิดเปนอัตราปวย 232.33 ตอประชากรแสนคน มีรายงานผูปวยเสียชีวิต จำนวน 168 ราย คิดเปน อัตราตาย 0.25 ตอประชากรแสนคน อัตราปวยตาย รอยละ 0.11 พบมากสุดในกลุมอายุ 15 - 24 ป(20.95%) รองลงมากลุมอายุ 10 - 14 ป (18.80%) พบมากในกลุมอาชีพนักเรียน รอยละ 45.10 รองลงมาอาชีพรับจาง  รอยละ 19.40 สำหรับสถานการณในพื้นที่จังหวัดตรัง ขอมูลเฝาระวังโรคไขเลือดออก ในจังหวัดตรัง ในสัปดาหที่ 51 ขอมูล ณ วันที่ 23 ธันวาคม 2566 กลุมงานควบคุมโรคติดตอ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ไดรับรายงานผูปวย โรคไขเลือดออก จาก 10 อำเภอในจังหวัดตรัง พบผูปวย จำนวน 1,128 ราย คิดเปนอัตราปวย 176.75 ตอประชากรแสนคน พบผูเสียชีวิต จำนวน 4 ราย (อำเภอหวยยอด 1 ราย ,อำเภอยานตาขาว 1 ราย ,อำเภอ ปะเหลียน 2 ราย) คิดเปนอัตราตาย 0.63 ตอประชากรแสนคน อัตราปวยตาย รอยละ 0.35 อำเภอที่มีอัตราปวย สูงสุด    คือ อำเภอวังวิเศษ จำนวน 158 ราย คิดเปนอัตราปวย 363.13 ตอประชากรแสนคน รองลงมา คือ อำเภอ ยานตาขาว จำนวน 179 ราย คิดเปนอัตราปวย 278.82 ตอประชากรแสนคน และ อำเภอสิเกา จำนวน 99 ราย คิดเปน อัตราปวย 257.63 ตอประชากรแสนคน
สถานการณโรคเลปโตสไปโรสิส (Leptospirosis) ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2566 ถึง วันที่ 30 ธันวาคม 2566 (ขอมูลจากระบบรายงานการเฝาระวังโรค 506 กองระบาดวิทยา) ประเทศไทย มีรายงานผูปวยโรค เลปโตสไปโรสิส (Leptospirosis) สะสมรวม 4,496 ราย คิดเปนอัตราปวย 6.79 ตอประชากรแสนคน มีรายงาน ผูปวยเสียชีวิต จำนวน 44 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.07 ตอประชากรแสนคน อัตราปวยตายรอยละ 0.97 อัตราสวน  เพศชายตอเพศหญิง 1 : 0.26 กลุมอายุที่พบมากที่สุด 3 อันดับ คือ กลุมอายุ 45 - 54 ป (18.33%) มากกวา  65 ป (17.66%) และ 55 - 64 ป (16.75%) อาชีพของผูปวยสวนใหญประกอบอาชีพ เกษตร รอยละ 42.80 รับจาง  รอยละ 22.50 และ นักเรียน รอยละ 13.2 สำหรับสถานการณในพื้นที่จังหวัดตรัง ขอมูลเฝาระวังโรคเลปโตสไปโรสิส (Leptospirosis) จังหวัดตรัง สัปดาหที่ 52 ขอมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2566 กลุมงานควบคุมโรคติดตอ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ไดรับรายงานผูปวยโรคเลปโตสไปโรสิส (Leptospirosis) จาก 10 อำเภอในจังหวัดตรัง พบผูปวย จำนวน 273 ราย คิดเปนอัตราปวย 42.78 ตอประชากรแสนคน พบผูเสียชีวิต จำนวน    6 ราย (อำเภอปะเหลียน 2 ราย อำเภอ หวยยอด 3 ราย และอำเภอกันตัง 1 ราย) คิดเปนอัตราตาย 0.94      ตอประชากรแสนคน อัตราปวยตาย รอยละ 2.20 อำเภอที่มีอัตราปวยสูงสุด คือ อำเภอวังวิเศษ จำนวน 66 ราย  คิดเปน อัตราปวย 151.69 ตอประชากรแสน คน รองลงมา คือ อำเภอหาดสำราญ จำนวน 17 ราย คิดเปน  อัตราปวย 100.76 ตอประชากรแสนคน และ อำเภอ สิเกา จำนวน 28 รายคิดเปนอัตราปวย 72.87 ตอประชากรแสนคน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเสใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการรวมพลังชุมชน เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ ขึ้น เพื่อควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ครอบคลุมไปถึงโรงเรียน สถาบันการศึกษา วัด และดำเนินการป้องกันอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปีโดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญ และถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมSRRTหมู่บ้าน/ตำบล ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก, มือเท้าปาก, ไข้หวัดใหญ่, ปอดบวม, อาหารเป็นพิษ, ตาแดง, เลปโตสไปโรซิส โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙และฝีดาษวานร ๓.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อ ๔.เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ ๕.เพื่อรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน สถานที่ราชการและชุมชน และลดความชุกของ ลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.สำรวจจำนวนหลังคาเรือน 2.จัดทำ “โครงการรวมพลังชุมชน เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ” 3.จัดทำแผนปฏิบัติงานในการดำเนินงาน 4.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 5. สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 126
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ทีมSRRTทีมSRRTหมู่บ้าน/ตำบล มีความรู้ระบบในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชนเพิ่มขึ้น ๒.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก, มือเท้าปาก, ไข้หวัดใหญ่, ปอดบวม, อาหารเป็นพิษ, ตาแดง,                เลปโตสไปโรซิส โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ และฝีดาษวานร ลดลงจากปี 2566 ๓.ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อเพิ่มขึ้น ๔.ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ        ๕.ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน วัดและส่วนราชการอื่นๆ ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด (ค่า HI , CI        ≤ร้อยละ 5


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมSRRTหมู่บ้าน/ตำบล ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก, มือเท้าปาก, ไข้หวัดใหญ่, ปอดบวม, อาหารเป็นพิษ, ตาแดง, เลปโตสไปโรซิส โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙และฝีดาษวานร ๓.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อ ๔.เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ ๕.เพื่อรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน สถานที่ราชการและชุมชน และลดความชุกของ ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : ๑.ร้อยละ๑๐๐ ของทีมSRRTหมู่บ้าน/ตำบล มีความรู้ระบบในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ๒.ร้อยละ 100 ของอสม. สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในครัวเรือนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ๓.อัตราการป่วยของโรคติดต่อในปี๒๕๖๗ลดลง น้อยกว่า 50 ต่อแสนประชากร ๔.ค่าดัชนีลูกน้ำ HI (House Index) น้อยกว่า 10
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 126
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 126
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมSRRTหมู่บ้าน/ตำบล  ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก, มือเท้าปาก, ไข้หวัดใหญ่, ปอดบวม, อาหารเป็นพิษ, ตาแดง,  เลปโตสไปโรซิส โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙และฝีดาษวานร ๓.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคติดต่อ ๔.เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ ๕.เพื่อรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน  สถานที่ราชการและชุมชน และลดความชุกของ ลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.สำรวจจำนวนหลังคาเรือน  2.จัดทำ “โครงการรวมพลังชุมชน เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ”  3.จัดทำแผนปฏิบัติงานในการดำเนินงาน  4.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ  5. สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังชุมชน เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1521-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด