กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี


“ แก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนจากภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยในหญิงตั้งครรภ์ ”

ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม รพ.ตะโหมด

ชื่อโครงการ แก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนจากภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยในหญิงตั้งครรภ์

ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L7575-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 ธันวาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"แก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนจากภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
แก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนจากภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยในหญิงตั้งครรภ์



บทคัดย่อ

โครงการ " แก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนจากภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยในหญิงตั้งครรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L7575-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 ธันวาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่มีความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพของประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์ การดูแลระหว่างตั้งครรภ์ และการดูแลหลังคลอด เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน และมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง การเกิดโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์จากการขาดธาตุเหล็ก เป็นโลหิตจางที่พบได้บ่อยที่สุด เกือบร้อยละ 80 ในตลอดระยะการตั้งครรภ์ ร่างกายต้องการธาตุเหล็กทั้งสิ้นประมาณ 1 กรัม โดยใช้การสร้างเม็ดเลือดแดงของมารดา ประมาณ 500 มิลลิกรัม สำหรับเด็กในครรภ์และรก ประมาณ 300 มิลลิกรัม และอีก 200 มิลลิกรัม เป็นการสูญเสียตามปกติของร่างกาย ความต้องการธาตุเหล็กที่เพิ่มขึ้นนี้เกือบทั้งหมด เกิดในครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ โดยร่างกายต้องการธาตุเหล็กเฉลี่ยวันละ 6-7 มิลลิกรัม ปริมาณธาตุเหล็กที่ได้จากอาหารมีเพียง 1-2 มิลลิกรัมต่อวัน จึงไม่พอเพียง จำเป็นต้องให้ธาตุเหล็กเสริม หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับเหล็กเสริมในรูป iron salt วันละ 30 มิลลิกรัม ( เหล็กในรูปนี้ดูดซึมได้ประมาณร้อยละ 10-20 ) การขาดธาตุเหล็กขณะตั้งครรภ์ เสี่ยงต่อการเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษ ทารกน้ำหนักตัวแรกคลอดน้อย ทารกตายคลอด รวมถึงผลต่อพัฒนาการและระดับสติปัญญาของเด็กในช่วงเข้าวัยเรียนอีกด้วย
ในปี 2560 หญิงตั้งครรภ์ในเขตเทศบาลแม่ขรีจำนวน 50คน พบภาวะซีดและน้ำหนักน้อย คิดเป็นร้อยละ 20 ซึ่งส่งผลต่อเด็กมีน้ำหนักน้อยและพัฒนาการช้าโรงพยาบาลตะโหมดเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ที่มารดามีภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยระหว่างตั้งครรภ์
  2. เพื่อลดผลกระทบปัญหาเด็กพัฒนาช้า เด็กน้ำหนักน้อย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ชื่อ        โครงการแก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนจากภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยในหญิงตั้งครรภ์
    2. ระยะเวลาดำเนินการ    ธันวาคม 2560 – กันยายน 2561
    3. กลุ่มเป้าหมาย(หากไม่มีกลุ่มเป้าหมายไม่ต้องมีหัวข้อนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะโครงการ,กิจกรรม)
      1. หญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะซีดและน้ำหนักน้อย ในเขตเทศบาลแม่ขรีจำนวน 20 คน รวมทั้งสิ้น........... 20......คน
    4. สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ดังนี้
      1. ติดตาม/เฝ้าระวังหญิงตั้งครรภ์ให้ฝากครรภ์
                  2. จ่ายยาเสริมธาตุเหล็กแก้ไขปัญหาซีดในหญิงตั้งครรภ์ที่มีค่าความเข้มข้นของเลือดน้อยกว่า 33%           3. จ่ายนม/ไข่แก้ไขปัญหาในหญิงตั้งครรภ์ที่น้ำหนักน้อยระหว่างการตั้งครรภ์           4. ให้ความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับการปฎิบัติตัวสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
    5. สรุปการใช้งบประมาณ 5.1 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวน ...... 10,000........บาท 5.2 งบประมาณที่ใช้จริง     จำนวน ........10,000...... บาท ดังรายการต่อไปนี้ - ค่าอาหารเสริม (ไข่,นม) จำนวน 20 คนๆละ 4 ครั้งๆ 125  บาท      เป็นเงิน  10,000 บาท รวมทั้งสิ้น..... 10,000.........บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน)
    6. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ
      1. หญิงตั้งครรภ์ในเขตมาฝากครรภ์ช้าอายุครรภ์เกิน 12 สัปดาห์ทำให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลฝากครรภ์และคัดกรองภาวะเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ช้า
                  2. หญิงตั้งครรภ์มีการการเปลี่ยนสถานที่อยู่,เปลี่ยนเบอร์ติดต่อทำให้มีความยุ่งยากในการติดตามหญิงตั้งครรภ์
        3.หญิงตั้งครรภ์ขาดความต่อเนื่องในการดูแลและปฎิบัติตัว
    7. แนวทางการพัฒนาหรือแนวทางในการปรับปรุงงาน
      1. ภาคีเครือข่ายให้ความสำคัญในการจัดทำโครงการและมีการพัฒนางาน 2.ประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อให้ผู้รับบริการมาฝากครรภ์เร็วก่อน อายุครรภ์  12 สัปดาห์

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ที่มารดามีภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยระหว่างตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อลดผลกระทบปัญหาเด็กพัฒนาช้า เด็กน้ำหนักน้อย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ที่มารดามีภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยระหว่างตั้งครรภ์ (2) เพื่อลดผลกระทบปัญหาเด็กพัฒนาช้า  เด็กน้ำหนักน้อย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    แก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนจากภาวะโลหิตจางและน้ำหนักน้อยในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 61-L7575-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม รพ.ตะโหมด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด