กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพื่อควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรัง ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ 6 บ้านป่าโอน

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพื่อควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8287-2-14 เลขที่ข้อตกลง 32/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2024 ถึง 30 กันยายน 2024


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพื่อควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรัง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพื่อควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพื่อควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L8287-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2024 - 30 กันยายน 2024 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของอำเภอเทพา และมีแนวโน้มที่เพิ่มมากขึ้นทุกปี จากการผลการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2566 ประชากรที่มีอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป ที่คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 317 คน พบประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 30 คน คิดเป็นร้อยละ 9.46 กลุ่มสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 4.42 และประชากรที่มีอายุมากกว่า 3๕ ปีขึ้นไป ที่คัดกรองเบาหวาน จำนวน 349 คน พบประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 183 คน คิดเป็นร้อยละ 52.44 กลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.43 การดำเนินงาน ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค คือการที่ชุมชนเห็นปัญหา สามารถวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพของคนในชุมชน นำไปสู่การวางแผนและจัดกิจกรรมต่างๆ ในการที่จะลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆลง อันจะนำไปสู่การป้องกันการเกิดโรครายใหม่ในระยะยาว เพื่อลดปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ 6 บ้านป่าโอน จึงได้จัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพื่อควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรัง เพื่อมุ่งหวังให้คนในชุมชน ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้และมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรวมถึงได้รับการกระตุ้น ส่งเสริม และสนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคจนสามารถดูแลตนเอง คนในครอบครัวและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และกลุ่มป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงได้เข้ากระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อพัฒนาให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และเกิดบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมติดตาม โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง
  3. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและสามารถปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รายใหม่ลดลง
  3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการกระตุ้น สร้างกระแส กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และกลุ่มป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงได้เข้ากระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 50 มีพฤติกรรมทีดีขึ้น
1.00

 

2 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อพัฒนาให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และเกิดบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : สถานบริการมีการดำเนินงานชุมชนต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างน้อย 1 ชุมชน
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และกลุ่มป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงได้เข้ากระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อพัฒนาให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และเกิดบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตาม โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม เพื่อควบคุมและป้องกันโรคเรื้อรัง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8287-2-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ 6 บ้านป่าโอน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด