กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว


“ โครงการรอบรู้ความคิด ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรคเรื้อรัง ”

ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางกลอยใจ รัตนโกศัย

ชื่อโครงการ โครงการรอบรู้ความคิด ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรคเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3346-2-08 เลขที่ข้อตกลง 018/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรอบรู้ความคิด ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรคเรื้อรัง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรอบรู้ความคิด ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรคเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรอบรู้ความคิด ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3346-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสารเคมีตกค้างในร่างกาย ในชุมชนบัานหน้าป่า หมู่ที่ 8 ตำบนบ้านพร้าว ถือว่าเป็นปัญหาหนึ่งของการดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชน และอัตราการเกิดโรคเรื้อวังของประชาชนก็เพิ่มมากขึ้น เป็นเพราะการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยและมีสารเคมีตกค้างในพืชผักที่รับประทานเข้าไป ทางชมรม อสม. หมู่ที่ 8 บ้านหน้าป่า เห็นความสำคัญของกิจกรรมคัคกรองสารเคมีตกค้างในเลือคของประชาชนทุกกลุ่มวัย การอบรมให้ความรู้การส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพ และการส่งเสริมการปถูกผักปลอดสารพิษในถุงปลูก แทนการปถูกผักในกระถางเพื่อลคต้นทุนค่าใช้จ่าย เพราะ การปลูกผักสวนครัวไว้บริโภคเองภายในครัวเรือนจะช่วยลดสารเคมีตกค้างในผักที่เราบริโภค ส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตโดยตรงซึ่งคนในชุมชนมีการเจ็บป่วย ระบบทางดินหายใจและโรคผิวหนัง เช่นอาการแพ้และผื่นคัน ตามร่งกายและยังมีสารพิมตกค้างในร่างกาย ที่ยู่ในข้าวและพืชผัก การใช้สารเคมีในการทำการเกษตร เช่นการใช้ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง หรืออื่น ๆ ไม่เพียงแต่ผู้ผลิต ผู้บริโภค แต่ยังส่งผกระทบต่อทรัพย์กรและสิ่งแวดถัอมในชุมขน เช่น ดิน แหล่งน้ำ พืช และสัตว์น้ำ ซึ่งหากคนในชุมชนยังขาดความรู้และตระหนักในปัญหาดังกล่าวแล้วผลกระทบที่จะเกิดขึ้นก็จะส่งผลกระทบในระยะยาว ดังนั้นการเสนอโครงการรอบรู้ความคิด ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรคเรื้อรัง เพื่อให้คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดำนินชีวิตประจำวันและการลดการใช้สารเคมี กลับมาทำกษตรอินทรีย์ ที่มีความปลอดภัยไปสู่ความมั่นคงทางด้านอาหารและสุขภาพของคนในชุมชนที่ดีและมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการในหมู่ที่ 8 ลดการเกิดโรคเรื้อรังได้ลดลง
  2. สามารถแก้ไขปัญหาการปลูกผักปลอดสารพิษในพื้นที่ได้และทำให้สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ดีขึ้น
  3. ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษมากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมในความรู้และคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดประชาชนทุกกลุ่มวัย และติดตามภาวะสุขภาพประชาชน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพ
  3. กิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักในถุงปลูกปลอดสารพิษ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถลดการเจ็บป่วยของประชาชนจากการเข้าร่วมโครงการ 2.ประชาชนในชุมชนสามารถปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคเองได้ 3.ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพที่ดี ได้บริโภคผักปลอดสารพิษที่ปลูกไว้เอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการในหมู่ที่ 8 ลดการเกิดโรคเรื้อรังได้ลดลง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการลดการเกิดโรคเรื้อรัง
90.00 90.00

 

2 สามารถแก้ไขปัญหาการปลูกผักปลอดสารพิษในพื้นที่ได้และทำให้สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำน้ำหมักชีวภาพไปใช้แทนการใช้สารเคมี
90.00 90.00

 

3 ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเอง
90.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการในหมู่ที่ 8 ลดการเกิดโรคเรื้อรังได้ลดลง (2) สามารถแก้ไขปัญหาการปลูกผักปลอดสารพิษในพื้นที่ได้และทำให้สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ดีขึ้น (3) ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษมากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมในความรู้และคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดประชาชนทุกกลุ่มวัย และติดตามภาวะสุขภาพประชาชน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพ (3) กิจกรรมส่งเสริมการปลูกผักในถุงปลูกปลอดสารพิษ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรอบรู้ความคิด ชีวิตปลอดภัย ห่างไกลโรคเรื้อรัง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3346-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกลอยใจ รัตนโกศัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด