กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ค่ายเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่สร้างสรรค์สังคมพ้นภัยยาเสพติด
รหัสโครงการ 67– L8300-2-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สภาเด็กและเยาวชนตำบลแว้ง
วันที่อนุมัติ 11 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 พฤษภาคม 2567 - 12 พฤษภาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2567
งบประมาณ 50,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุฬมูฮัยมีน ดือราแม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.936,101.835place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (50,900.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในสภาวะที่สังคมปัจจุบันที่เต็มไปด้วยอบายมุขและสิ่งเสพติด เราไม่อาจที่จะปฏิเสธได้ว่าเรื่องเหล่านี้สังคมหรือภาครัฐไม่ให้ความสำคัญและสนใจ เพราะยาเสพติดถือเป็นวาระแห่งชาติที่รัฐบาลให้ความสำคัญ มีการปราบปรามผู้ผลิตกันแทบทุกวัน แต่ทั้งนี้ถ้าทุกคนร่วมมือกันเพื่อต่อต้านและรณรงค์ให้ห่างไกล มีเกราะป้องกัน โดยเฉพาะเยาวชนจะทำให้เยาวชนเหล่านั้นสามารถที่ผ่านและห่างไกลจากสิ่งเสพติดได้ และในสภาพที่สังคม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีสิ่งอบายมุข รอบตัวเยาวชนมากมาย ไม่ว่าจะเป็น กัญชา กระท่อม ยาแก้ไอ 4 คูณ100 และสิ่งเสพติดอีกหลายประเภท ที่พร้อมทำลายอนาคตพวกเขา สาเหตุหนึ่งมาจากเยาวชนขาดการศึกษา และถูกหลอกลวงจากคนไม่หวังดี เอายาเสพติดมาเป็นแรงจูงใจ แต่ถ้าเยาวชนเหล่านั้นได้รับความรู้ ความเข้าถึงโทษภัยของสิ่งเสพติด เยาวชนเหล่านั้นอาจจะไม่เป็นทาสของยาเสพติด สภาเด็กและเยาวชนตำบลแว้ง ได้ตระหนักดีถึงเรื่องที่เกิดขึ้นในชุมชน และร่วมมือกันเพื่อหาแนวทางในการช่วยเหลือเยาวชนที่กำลังหลงผิดกลับคืนสู่อนาคตที่สดใส พร้อมเป็นกำลังหลักของชาติในอนาคตภายภาคหน้า สภาเด็กและเยาวชนตำบลแว้ง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป็นชุมชนน่าอยู่ห่างไกลยาเสพติด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด

เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการห่างไกลยาเสพติดร้อยละ 50

50.00
2 เพื่อให้เกิดแกนนำและเครือข่ายเด็กและเยาวชนเฝ้าระวังห่างไกลยาเสพติด

เกิดแกนนำและเครือข่ายเด็กและเยาวชนเฝ้าระวังห่างไกลยาเสพติดอย่างน้อย 2 กลุ่ม

3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจ โทษภัยยาเสพติด

เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจโทษภัยยาเสพติดร้อยละ 70

70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 67
1 ค่ายเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่สร้างสรรค์สังคมพ้นภัยยาเสพติด(5 พ.ค. 2567-7 พ.ค. 2567) 50,900.00  
รวม 50,900.00
1 ค่ายเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่สร้างสรรค์สังคมพ้นภัยยาเสพติด กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 50,900.00 0 0.00
10 - 12 พ.ค. 67 - จัดค่ายอบรมให้ความรู้เรื่องโทษภัยยาเสพติด การสร้างเครือข่ายเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติดให้โทษ 40 50,900.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 เม.ย. 2567 10:44 น.