กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ


“ โครงการส่งเสริมการใช้ไพล สมุนไพรท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ ปี 2567 ”

ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฟารีดะห์ ฮาแวมาเนาะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ไพล สมุนไพรท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L6959-2567-1-005 เลขที่ข้อตกลง 05/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการใช้ไพล สมุนไพรท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ ปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ไพล สมุนไพรท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ไพล สมุนไพรท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L6959-2567-1-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในพื้นที่ตำบลลุโบะสาวอ มีผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับอาการปวดกล้ามเนื้อหลายราย โดยเฉพาะวัยกลางคน ซึ่งเป็นวัยทำงาน อาจมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่ส่งผลต่อสุขภาพร่างกาย ส่วนใหญ่มักมีสาเหตุจากการใช้งานกล้ามเนื้อซ้ำ ๆ หรือมากเกินไปจากการทำกิจกรรมประจำวัน แต่ในบางครั้งอาการปวดก็อาจเป็นผลมาจากโรค อาการ หรือยาเช่นกัน ในปี 2566 โดยในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอ ผู้ที่มารับการรักษาด้วยปัญหาอาการปวดกล้ามเนื้อ ส่วนใหญ่แล้วจะมารับยาเพื่อบรรเทาอาการปวดอย่างต่อเนื่อง มีปัญหาในการใช้ชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพ ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตด้อยลง ปัจจุบันการรักษาทางการแพทย์เกี่ยวกับอาการปวดกล้ามเนื้อมีอยู่หลายวิธีด้วยกัน เริ่มตั้งแต่การรับประทานยา การฉีดยา และการผ่าตัด เป็นต้น โดยวิธีทั่วไปขั้นแรกของการรักษาจะเป็นการทำท่าบริหาร ลดการใช้งานร่วมกับการรับประทานยาแก้ปวดหรือกลุ่มต้านการอักเสบ ในส่วนของแพทย์แผนไทยนั้นปัจจุบันได้รับการสนใจมากขึ้น เนื่องจากมีการทำวิจัยเกี่ยวกับการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้ออยู่ค่อนข้างเยอะพอสมควร ซึ่งสามารถลดอาการปวดกล้ามเนื้อได้โดยที่ผู้ป่วยไม่ต้องรับประทานยาไปนานๆ การรักษาทางแพทย์แผนไทยนั้นในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกันหลายวิธี ทั้งการนวดบำบัด ประคบสมุนไพร การทำท่ากายบริหารเพื่อบรรเทาอาการปวด และช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อ รวมถึงการใช้น้ำมันไพลซึ่งเป็นสมุนไพรท้องถิ่น ที่มีสรรพคุณลดอาการปวดกล้ามเนื้อ เคล็ดขัดยอก โดยการนำมาทาถู นวด บริเวณที่มีอาการ เพื่อลดอาการปวดกล้ามเนื้อได้อีกด้วย ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการใช้สมุนไพรท้องถิ่น เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับอาการปวดกล้ามเนื้อ ที่อาจจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายและควรได้รับการดูแลด้านการส่งเสริม ป้องกันโรค ฟื้นฟูสุขภาพที่เหมาะสม มีประสิทธิผล จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการใช้ไพล สมุนไพรท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ โดยกลุ่มเป้าหมายก็คือผู้ที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอ จำนวน 60 คน เพื่อส่งเสริมให้คนในพื้นที่ สามารถใช้สมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ในการบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อได้อย่างถูกต้อง เพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายและเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพของตนเองให้มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุขและสืบสานวัฒนธรรมที่ดีงามให้แก่คนรุ่นหลังได้ยกย่องสืบไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความสนใจเรื่องการใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอาการปวดกล้ามเนื้อกับศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทย
  2. การสาธิตวิธีการทำน้ำมันไพลเพื่อบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1)ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องอาการปวดกล้ามเนื้อทางศาสตร์การแพทย์แผนไทย 2)ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับอาการปวดกล้ามเนื้อ มีความรู้เรื่องการนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการรักษาหรือบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อได้ 3)กลุ่มเป้าหมายมีอาการปวดกล้ามเนื้อลดลงหลังการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย 4)สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ในชุมชนหรือผู้ที่สนใจการทำน้ำมันไพลเพื่อบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่เข้าอบรม มีความรู้เรื่องการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
0.00 90.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความสนใจเรื่องการใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่เข้าอบรม มีความรู้ ความสนใจเรื่องการใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรค
0.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความสนใจเรื่องการใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอาการปวดกล้ามเนื้อกับศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทย (2) การสาธิตวิธีการทำน้ำมันไพลเพื่อบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการใช้ไพล สมุนไพรท้องถิ่นเพื่อสุขภาพ ปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L6959-2567-1-005

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฟารีดะห์ ฮาแวมาเนาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด