กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ


“ โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรวรรณ ทับทิมทอง

ชื่อโครงการ โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5214-2-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5214-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้มีนโยบายให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาผู้เสพและผู้ติดยาเสพติด โดยมีการใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐานในการค้นหา ชักชวน และร่วมดูแลช่วยเหลือผู้ใช้ยาเสพติด ให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่/บริบทของพื้นที่ที่เหมาะสม โดยการนำรูปแบบการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน(Community Treatment:CBTx) มาดำเนินการไปพร้อมกับการขับเคลื่อนการแก้ไขยาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน การบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment CBTx) เป็นการดูแลผู้ใช้ยาเสพติดให้เกิดกการบำบัดฟื้นฟูใกล้บ้าน หรือภายในชุมชนอย่างต่อเนื่อง มีกระบวนการ ตั้งแต่การค้นหา คัดกรอง บำบัดฟื้นฟู การลดอันตรายจากยาเสพติด และการติดตามดูแลช่วยเหลือสังคม ซึ่งถือว่าเป็นเป้าหมายสำคัญที่หน่วยงานทุกภาคส่วนและชุมชนจะเข้ามาดำเนินการร่วมกัน เพื่อให้การดำเนินการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดนชยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment CBTx) ตำบลเกาะยอ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment CBTx) เพื่อให้ผู้ยาเสพติดได้รับการพัฒนาทั้งในด้านร่างกาย จิตใจและสังคม ตลอดจนได้รับการติดตาม ดูแล และช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ อย่างเหมาะสม จนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สามารถลด ละ เลิก ยาเสพติดได้และส่งคืนคนดีกลับสู่สังคมต่อไป วิธีดำเนินการ
แนวคิด CBTx เป็นการดูแลผู้ใช้ยาเสพติดให้ได้รับการบำบัดฟื้นฟูใกล้บ้าน หรือภายในชุมชนอย่างต่อเนื่องทั้งการฟื้นฟูทางการแพทย์และทางสังคม โดยใช้ศักยภาพและความร่วมมือของคนในชุมชนและหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ตามบริบทและวิถีของชุมชนนั้น ๆ โดยมีแนวทางการดำเนินงานดังนี้ 1)จัดตั้งทีมงานหรือชุปฏิบัติการประจำตำบล เพื่อจัดทำแผนแนวทางการดำเนินงาน รวมถึงให้คำปรึกษา/คำแนะนำ พร้อมชักชวนให้ผู้เสพยาเสพติดเข้ารับการบำบัดฟื้นฟูฯ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล (รพ.สต.) หรือสถานพยาบาลใกล้บ้าน หรือการดูแลในชุมชน 2)ทีมงานหรือชุดปฏิบัติการประจำตำบล ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/สถานพยาบาล ให้การดูแลฟื้นฟูภายในชุมชนตามแนวทางที่สาธารณสุขกำหนด เช่น การจัดทำกิจกรรมกลุ่ม การให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและการดูแลตนเอง การเสริมสร้างกระบวนการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและพฤตินัย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของพื้นที่ รวมถึงการส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลที่เหมาะสม 3)ทีมงานหรือชุดปฏิบัติการประจำตำบลกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ให้ความช่วยเหลือเชิงสังคม เช่น การจัดสถานที่ในการฝึกอาชีพ การสนับสนุนทุนประกอบอาชีพ การศึกษาต่อ เป็นต้น 4)รายงานผลดำเนินงานในระบบสารสนเทศยาเสพติดจังหวัด (NISPA) ของสำนัก ป.ป.ส. และระบบข้อมูลบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ (บสต.) ของกระทรวงสาธารณสุข (ในกรณีที่ส่งต่อบำบัดในสถานพยาบาลหรือศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) รวมถึงความคืบหน้า ปัญหาอุปสรรค การดำเนินงานในที่ประชุม ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัด (ศอ.ปส.จ) และศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอำเภอ (ศป.ปส.อ.)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด
  2. ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในหมู่บ้าน ให้สามารถลด ละ เลิกยาเสพติด
  3. ให้ความช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในเชิงสุขภาพและสังคม
  4. เพื่อนำครอบครัว ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลและช่วยเหลือผู้ป่วยยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การดูแลฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดภายในหมู่บ้าน แบบไปกลับ
  2. กิจกรรมที่ 2 การจัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้แก่ครอบครัวหรือชุมชนในการดูแลผู้ป่วยยาเสพติด
  3. กิจกรรมที่ 1 การดูแลฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดภายในหมู่บ้าน แบบไปกลับ
  4. กิจกรรมที่ 2 การจัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้แก่ครอบครัวหรือชุมชนในการดูแลผู้ป่วยยาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ใช้ยาเสพติดในพื้นที่ตำบลเกาะยอ ได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมและสามารถอยู่ร่วมกับคนในชุมชนได้โดยไม่ทำให้เดือดร้อน   2.ผู้ใช้ยาเสพติดมีพฤติกรรมที่เหมาะสม สามารถลด ละ เลิกยาเสพติดได้ และไม่กลับไปมีพฤติกรรมเสพติดซ้ำ   3.สามารถช่วยเหลือผู้เสพติดที่ยังไม่สามารถเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลที่ยังคงอาศัยอยู่ในชุมชนได้มีโอกาสรับการบำบัดฟื้นฟูสมรรถนะด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน ทั้งในระดับครอบครัวและชุมชนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น
80.00

 

2 ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในหมู่บ้าน ให้สามารถลด ละ เลิกยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดในหมู่บ้านสามารถลด ละ เลิกยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น
80.00

 

3 ให้ความช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในเชิงสุขภาพและสังคม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดได้รับการดูแลในเชิงสุขภาพและสังคมทุกคน
80.00

 

4 เพื่อนำครอบครัว ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลและช่วยเหลือผู้ป่วยยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครอบครัว ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลและช่วยเหลือผู้ป่วยยาเสพติดทุกคน
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 10
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิดของผู้ป่วยยาเสพติด (2) ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในหมู่บ้าน ให้สามารถลด ละ เลิกยาเสพติด (3) ให้ความช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในเชิงสุขภาพและสังคม (4) เพื่อนำครอบครัว ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลและช่วยเหลือผู้ป่วยยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การดูแลฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดภายในหมู่บ้าน แบบไปกลับ (2) กิจกรรมที่ 2 การจัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้แก่ครอบครัวหรือชุมชนในการดูแลผู้ป่วยยาเสพติด (3) กิจกรรมที่ 1 การดูแลฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดภายในหมู่บ้าน แบบไปกลับ (4) กิจกรรมที่ 2 การจัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้แก่ครอบครัวหรือชุมชนในการดูแลผู้ป่วยยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment : CBTx ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5214-2-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอรวรรณ ทับทิมทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด