กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและปรับสภาวะทางอารมณ์ ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางประไพ อุบลพงษ์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและปรับสภาวะทางอารมณ์

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-67-3-1 เลขที่ข้อตกลง 38/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและปรับสภาวะทางอารมณ์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและปรับสภาวะทางอารมณ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและปรับสภาวะทางอารมณ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-67-3-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นกลุ่มที่เปราะบางต้องดูแลอย่างใกล้ชิด เพราะอุบัติเหตุอาจเกิดได้ง่าย จึงต้องจัดกิจกรรมพัฒนาให้ร่างกายโดยเฉพาะอย่างยิ่งกล้ามเนื้อให้แข็งแรงปรับสภาวะอารมณ์ให้ร่าเริงเบิกบาน จึงได้เสนอโครงการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและปรับสภาวะอารมณ์ด้วยการออกกำลังกายไทเก็ก 24 ท่า ลักษณะเด่นของไทเก็กคือการออกกำลังกายที่กำหนดจังหวะการหายใจเข้าหายใจออก โดยหายใจเข้าทางจมูกยาวลึกและกลั้นไว้ประมาณ 5-9 วินาที หายใจออกทางปากลึกยาวให้ท้องแฟบเป็นการเพิ่มออกซิเจนในกระแสลือด การเคลื่อนไหวร่างกายอย่างช้าๆนิ่มนวลต่อเนื่องและไม่ทำให้เหนื่อยหอบ ช่วยให้ระบบกาเผาผลาญมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การฝึกไทเก็กอย่างถูกต้องเป็นประจำจะเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อทั้งกล้ามเนื้อส่วนบน กล้ามเนื้อกลาง กล้ามเนื้อแกนกลางของหน้าท้องและแผ่นหลัง รวมถึงเพิ่มความยืดหยุ่น ความคล่องงตัวให้แก่ผู้ฝึก ข้อต่อต่างๆก็จะมีการเคลื่อนไหวที่ไม่ขัด พัฒนาการทรงตัวลดความเสี่ยงที่ผู้สูงอายุอาจหกล้มได้ ส่งผลดีต่อสุขภาพร่างกายเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน บรรเทาอาการปวดข้อ อาการปวดหลัง ลดความดันโลหิต ส่งผลดีต่อสภาพหัวใจ ส่งผลดีต่อสุขภาพจิต ช่วยเพิ่มสมาธิ มีสมาธิในการทำงานมากขึ้น ผ่อนคลามความเครียดเนื่องจากการออกกำลังกายแบบไทเก็กจิตผู้ออกกำลังกายกำหนดอยู่ที่ลมหายใจจิตจึงเป็นสมาธิ พัฒนาอารมณ์ ผู้ที่ฝึกไทเก็กเป็นประจำสามารถลดอาการวิตกกังวลและซึมเศร้าได้ช่วยให้หลับสบาย หรือนอนหลับได้ง่ายขึ้น ปรับสภาวะอารมณ์ โดยเฉพาะในผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า หรือโรควิตกกังวล เสริมระบบความจำสำหรับผู้สูงอายุที่เริ่มมีปัญหาเกี่ยวกับความจำ ลดอาการปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง ลดอาการของโรคพาร์กินสัน สามารถฝึกการทรงตัวด้วยตัวเองได้ ฝึกการทำงานของระบบประสาท ไทเก็กสามารถช่วยผู้ป่วยอัมกฤกษ์ อัมพาต ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองหรือผู้ที่มีมีปัญหาด้านการทำงานของระบบประสาท ได้ฝึกให้ระบบประสาททำงานสัมพันธ์กันมากขึ้น
        สมาคมไทเก็กภาคใต้ ได้เห็นความสำคัญของไทเก็ก ๒๔ ท่า จึงให้ชมรมไทเก็กภาคใต้ทุกชมรมออกกำลังกายด้วยไทเก็ก ๑ ไทเก็ก ๒ และไทเก็ก ๒๔ ท่า ทุกปีในงานมหกรรมไทเก็กภาคใต้ ซึ่งไทเก็กจัดงานมหกรรมทุกปีหมุนเวียนไปทุกจังหวัดแล้วแต่จังหวัดไหนเป็นเจ้าภาพศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพตำบลคลองขุดได้เข้าร่วมมหกรรมไทเก็กภาคใต้ทุกปีแต่ยังไม่ได้ฝึกไทเก็ก ๒๔ ท่า ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพตำบลคลองขุด ได้ศึกษาค้นคว้าถีงประโยชน์ของไทเก็ก ๒๔ ท่า จึงได้เขียนโครงการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและปรับสภาวะทางอารมณ์ด้วยไทเก็ก ๒๔ ท่า เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีกล้ามเนื้อแข็งแรง ส่งผลดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนประชาชนผู้สูงอายุให้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรมรณรงค์ให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายด้วยไทเก็ก ๒๔ ท่า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนประชาชนผู้สูงอายุให้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนประชาชนผู้สูงอายุให้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรมรณรงค์ให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายด้วยไทเก็ก ๒๔ ท่า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและปรับสภาวะทางอารมณ์ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-67-3-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางประไพ อุบลพงษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด