กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมและพัฒนาบริการฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึงพิง ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายอาซิบ อับดุลเลาะ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาบริการฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึงพิง

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67– L8300 -3-01 เลขที่ข้อตกลง 03/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและพัฒนาบริการฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึงพิง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและพัฒนาบริการฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึงพิง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและพัฒนาบริการฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึงพิง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67– L8300 -3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       จากสถานการณ์ของสังคมโลกปัจจุบัน โลกเรากำลังเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ซึ่งหมายความว่าโลกมีประชากรผู้สูงอายุ อายุ 65 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 7 โดยพบว่าปี 2555 โลกมีประชากร 7,058 ล้านคน มีอายุ 65 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 8 หรือ 565 ล้านคน จากความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทยอัตราการเกิดน้อยลง ประชากรมีอายุยืนยาวมากขึ้นจะส่งผลให้ประชากรไทยคาดว่าอีก 20 ปีข้างหน้าประเทศไทยจะเป็นสังคมสูงวัยระดับยอดสูงสุดซึ่งหมายถึง มีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 20 ขึ้นไป อาจกล่าวได้ว่าอีก 10 ปีข้างหน้า (2564) ประเทศไทยจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์” (Aged Society) และจากนั้นอีก 10 ปี ประเทศไทยจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยระดับยอดสูงสุด” (Supper - Aged Society) จากสภาพปัญหาและสถานการณ์ของผู้สูงอายุ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมากส่งผลกระทบทางสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม โดยรวมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี ให้สุขภาพแข็งแรง เพื่อยืดเวลาที่จะเกิดการเจ็บป่วยให้หายหรืออาการทุเลา จากการเกิดความพิการ หรือทุพพลภาพการยืดเวลาการเข้าสู่ภาวะทุพพลภาพออกไป สังคมผู้สูงอายุ และพิการ ตลอดจนผู้ด้อยโอกาสในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง ในปัจจุบันกำลังมุ่งเข้าสู่สังคมแห่งผู้สูงวัย ทั้งนี้ผู้สูงอายุ คนพิการ ตลอดจนผู้ด้อยโอกาสส่วนหนึ่งยังขาดการดูแลเอาใจใส่ ถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพังหรืออยู่กับเด็กในวัยเรียนและก่อนวัยเรียน โดยบุตรหลานวัยทำงานต้องดิ้นรนออกไปทำงานนอกพื้นที่ เพราะสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันเกิดการชะลอตัว ค่าครองชีพเครื่องอุปโภคบริโภค มีราคาสูง รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายทำให้บุตรหลานไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่ผู้สูงอายุ บางรายปล่อยให้ผู้สูงอายุดำเนินชีวิตอยู่เพียงลำพังด้วยเงินเบี้ยยังชีพเท่านั้น ผู้สูงอายุ จำนวน 888 คน อายุ 60-69 ปี จำนวน 525 คน อายุ 70-79 ปี จำนวน 231 คน อายุ 80-89 ปี จำนวน 124 คน อายุ 90 ปีขึ้นไป จำนวน 8 คน ผู้ป่วยติดเตียงจำนวน 18 ราย คนพิการ จำนวน 249 คน แยกเป็น ผู้การทางการมองเห็น จำนวน 24 คน พิการทางการได้ยินหรือการสื่อความหมาย จำนวน 34 คน พิการทางการเคลื่อนไหว จำนวน 162 คน พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม จำนวน 28 คน พิการทางสติปัญญา จำนวน 28 คน พิการทางการเรียนรู้จำนวน 1 คน และผู้ด้อยโอกาสจำนวน 102 คน ซึ่งหลายรายในสังคมมีโรคประจำตัวหรือต้องเป็นผู้ป่วยติดเตียง ไม่มีโอกาสได้ออกมาทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มหรือชมรม ต่าง ๆ บางรายอาจเกิดความน้อยใจหรือหมดกำลังใจที่จะดำเนินชีวิตต่อไป คณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์ ฯ องค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง จึงได้จัดทำโครงการจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึงพิง เพื่อเกิดการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและฟื้นฟูสภาพร่างกายให้แข็งแรง ลดภาวะแทรกซ้อน และดำเนินการใช้ชีวิตได้อย่างปกติมีความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม ทางปัญญาและสิ่งแวดล้อม ต่อไป       คณะกรรมการศูนย์กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุตำบลแว้งเล็งเห็นความสำคัญขอการจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึงพิง เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบลแว้ง เพื่อส่งเสริมสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิงให้มีชีวิตการเป็นอยู่ที่ดีโดยให้ศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึงพิงเป็นสื่อกลางในเรื่องของการส่งเสริมสุขภาพ ข้อมูลข่าวสารสิทธิประโยชน์ สวัสดิ์การต่างๆรวมถึงบริการความช่วยเหลือต่างๆที่ผู้ป่วยผู้พิการที่ควรได้รับของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  2. เพื่อเป็นการบริการเชิงรุกโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยในชุมชน
  3. เพื่อให้เป็นศูนย์กลางในการบริการยืมคืนอุปกรณ์ออกกำลัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมสร้างความเข้าใจการรักษาทางกายภาพบำบัดสำหรับผู้ดูแล ทีมอาสา นักบริบาล อสม. และผู้ที่เกี่ยวข้อง
  2. สร้างเครือข่ายในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิง ( นักบริบาล, อสม. ,แม่หมอ , ทีมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย,CG,ผู้นำท้องที่,รพ.สต.กรือซอ,อื่นๆ) พัฒนาศักยภาพผู้ดูแล/care giver/อสม ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการผ้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตีย
  3. บริการแนะนำ ช่วยเหลือ ฟื้นฟูสุขภาพ ด้วยอุปกรณ์กายภาพบำบัด โดยทีมอาสาฯ ควบคุมดูแลโดยสหวิชาชีพโรงพยาบาลแว้ง จัดหา/จัดซื้อครุภัณฑ์และเครื่องมือทางกายภาพบำบัด (ผู้สูงอายุ จำนวน 888 คน ผู้ป่วยติดเตียงจำนวน 18 ราย คนพิการ จำนวน 249 คน พิการทางการเคลื่อนไหว จำน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 10
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายต่อเนื่อง ระดับคะแนน Bathel index มากกว่า12 ผู้ดูแลผู้ป่วยผู้สูงอายุอสม. จิตอาสา และCare giverมีทักษะการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิง

 

2 เพื่อเป็นการบริการเชิงรุกโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิงมีคุณภาพชีวิตที่ดีโดยมีระดับคะแนน EQ-5D-5L ในระดับสุขภาพแข็งแรง ผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิงไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน

 

3 เพื่อให้เป็นศูนย์กลางในการบริการยืมคืนอุปกรณ์ออกกำลัง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการยืมคืนกายอุปกรณ์ที่เหมาะสม

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 10
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (2) เพื่อเป็นการบริการเชิงรุกโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยในชุมชน (3) เพื่อให้เป็นศูนย์กลางในการบริการยืมคืนอุปกรณ์ออกกำลัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมสร้างความเข้าใจการรักษาทางกายภาพบำบัดสำหรับผู้ดูแล ทีมอาสา นักบริบาล อสม. และผู้ที่เกี่ยวข้อง (2) สร้างเครือข่ายในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึ่งพิง ( นักบริบาล, อสม. ,แม่หมอ , ทีมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย,CG,ผู้นำท้องที่,รพ.สต.กรือซอ,อื่นๆ) พัฒนาศักยภาพผู้ดูแล/care giver/อสม ในการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการผ้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตีย (3) บริการแนะนำ ช่วยเหลือ ฟื้นฟูสุขภาพ ด้วยอุปกรณ์กายภาพบำบัด โดยทีมอาสาฯ ควบคุมดูแลโดยสหวิชาชีพโรงพยาบาลแว้ง  จัดหา/จัดซื้อครุภัณฑ์และเครื่องมือทางกายภาพบำบัด (ผู้สูงอายุ จำนวน 888 คน ผู้ป่วยติดเตียงจำนวน 18 ราย คนพิการ จำนวน 249 คน พิการทางการเคลื่อนไหว จำน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมและพัฒนาบริการฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยผู้สูงอายุและผู้พิการที่มีภาวะพึงพิง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67– L8300 -3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาซิบ อับดุลเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด