กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน


“ โครงการส่งเสริมทักษะชีวิตแก่เด็กและเยาวชน สอนทักษะการว่ายน้ำเบื้องต้น ”

ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาทิยา สวัสดิรักษา พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทักษะชีวิตแก่เด็กและเยาวชน สอนทักษะการว่ายน้ำเบื้องต้น

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1485-2-45 เลขที่ข้อตกลง 44/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทักษะชีวิตแก่เด็กและเยาวชน สอนทักษะการว่ายน้ำเบื้องต้น จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทักษะชีวิตแก่เด็กและเยาวชน สอนทักษะการว่ายน้ำเบื้องต้น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทักษะชีวิตแก่เด็กและเยาวชน สอนทักษะการว่ายน้ำเบื้องต้น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1485-2-45 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้กำหนดให้วันเสาร์แรกเดือนมีนาคมของทุกปีเป็นวันรณรงค์ป้องกันเด็กจมน้ำ และมีการจัดกิจกรรมทุกปีมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2552 และในปี 2564 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติได้มีมติเรื่อง Global Drowning Prevention กำหนดให้วันที่ 25 กรกฎาคมของทุกปีเป็นวันป้องกันการจมน้ำโลก โดยในปีนี้ องค์การอนามัยโลกกำหนดแนวคิด คือ “Do one thing - Improve one thing - Add one thing” เพื่อให้ทุกประเทศทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ ซึ่งสามารถเริ่มทำได้ตั้งแต่ระดับบุคคล เครือข่ายหรือภาครัฐ ทั้งนี้ การจมน้ำยังคงเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขทั่วโลก จากข้อมูลองค์การอนามัยโลก พบว่า ในแต่ละปีทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำประมาณ 236,000 คน โดย 1 ใน 4 เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งในกลุ่มเด็กอายุ 5 - 14 ปีนั้น พบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ส่วนประเทศไทย ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ปี 2556 - 2565) มีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ 36,403 คน เฉลี่ยปีละ 3,640 คน หรือวันละกว่า 10 คน โดยในจำนวนนี้ เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 6,992 คน สาเหตุหนึ่งที่พบบ่อยคือ ขาดทักษะการเอาชีวิตรอดและการช่วยเหลือคนตกน้ำ/จมน้ำ ที่ถูกต้อง สำหรับสถานการณ์จังหวัดตรัง จากข้อมูลที่ผ่านมา ปี พ.ศ.2560 จำนวน 3 คน ปีพ.ศ.2561 จำนวน 16 คน ปีพ.ศ.2562 จำนวน 2 คน ปีพ.ศ.2564 จำนวน 6 คน เฉลี่ย 5 ปี(พ.ศ.2560-2564) จำนวน 5 คน ซึ่งจะพบว่ามีการเกิดเสียชีวิตจากการจมน้ำเกือบทุกปี และโดยเฉพาะในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน เดือนมีนาคม ถึงเดือนพฤษภาคม เป็นช่วงที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุดประมาณ 1 ใน 3 ของการจมน้ำเสียชีวิตของเด็กตลอดทั้งปี และประชากรในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านลำปลอก อายุ 5-15 ปี มีจำนวน 314 คน แบ่งเป็น หมู่ที่ 6  146 คน หมู่ที่ 7  35 คน  หมู่ที่ 10  83 คน และหมู่ที่13  50 คน ดังนั้น กระทรวงสาธารณสุขได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องนี้และกำหนดให้การลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ เป็นเป้าหมายหนึ่งในแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ดังนั้นเพื่อเป็นการลดการเสียชีวิตจากการจมน้ำและเป็นการดำเนินการตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้การป้องกันการจมน้ำเป็นหนึ่งในเรื่องการสร้างเสริมอนามัยโรงเรียนให้เข้มแข็ง จากข้อมูลดังกล่าว หากจะป้องกันการเสียชีวิตหรือลดอัตราการตายจากการจมน้ำของเด็ก “จำเป็นจะต้องฝึกหัดให้เด็กในกลุ่มเสี่ยงได้ฝึกหัดว่ายน้ำ หรือ ว่ายน้ำเป็น” และเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีช่วยชีวิตคนจากการจมน้ำแบบวิธีช่วยเหลือมาตรฐานสากล โดยใช้อุปกรณ์ใกล้มือ เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำปลอก มีแหล่งน้ำ ซึ่งเป็นจุดเสี่ยง ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำปลอก จึงจัดทำโครงการส่งเสริมทักษะชีวิตแก่เด็กและเยาวชน ภายใต้กิจกรรม“สอนทักษะการว่ายน้ำเบื้องต้น” โดยจัดให้มีการฝึกหัดว่ายน้ำให้เด็กและเยาวชนในช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อน (เมษายน – พฤษภาคม 2567 )

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสอนและฝึกหัดให้เด็กและเยาวชนสามารถว่ายน้ำเป็นจนเอาชีวิตรอดจากการประสบเหตุทางน้ำ
  2. เพื่อสอนและฝึกหัดให้เด็กและเยาวชนรู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ออกกำลังกาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กและเยาวชน ได้รับการสอนและฝึกหัดการว่ายน้ำ จนสามารถว่ายน้ำและเอาชีวิตรอดจากการประสบเหตุทางน้ำได้
    2. เด็กและเยาวชนรู้วิธีและสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล
    3. เด็กและเยาวชนได้ออกกำลังกาย
    4. เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสอนและฝึกหัดให้เด็กและเยาวชนสามารถว่ายน้ำเป็นจนเอาชีวิตรอดจากการประสบเหตุทางน้ำ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อสอนและฝึกหัดให้เด็กและเยาวชนรู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ออกกำลังกาย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสอนและฝึกหัดให้เด็กและเยาวชนสามารถว่ายน้ำเป็นจนเอาชีวิตรอดจากการประสบเหตุทางน้ำ (2) เพื่อสอนและฝึกหัดให้เด็กและเยาวชนรู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ออกกำลังกาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมทักษะชีวิตแก่เด็กและเยาวชน สอนทักษะการว่ายน้ำเบื้องต้น จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1485-2-45

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอาทิยา สวัสดิรักษา พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด