กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป


“ โครงการห่างไกลข้อเข่าเสื่อม ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ปี 2567 ”

ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซานียะห์ มะแงสะแต

ชื่อโครงการ โครงการห่างไกลข้อเข่าเสื่อม ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L8412-04-005 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการห่างไกลข้อเข่าเสื่อม ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการห่างไกลข้อเข่าเสื่อม ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการห่างไกลข้อเข่าเสื่อม ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L8412-04-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ครอบครัวเป็นหน่วยของสังคมที่เล็กที่สุดของมนุษย์ การดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัวเป็นสิ่งสำคัญ เพราะจะนำไปสู่การพัฒนาสังคม การดูแลสุขภาพเริ่มตั้งแต่การปฏิสนธิ จนถึงเป็นผู้สูงอายุ ในทุกช่วงวัยก็จะมีภาวะแทรกซ้อนทางด้านสุขภาพที่แตกต่างกันไป โดยเฉพาะเมื่ออายุเริ่มมากขึ้น ประกอบกับการกินอาหารในยุคปัจจุบัน ทำให้จำนวนของคนที่เป็นโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หรือข้อเข่าเสื่อม ข้อเข่าเสื่อมพบได้ประมาณร้อยละ 10 ของประชากรที่มีอายุเกิน 55 ปีขึ้นไป พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย เป็นต้นเหตุให้เกิดภาวะทุพพลภาพได้ ซึ่งปัจจัยเสี่ยงของโรคข้อเข่าเสื่อม ได้แก่ อายุที่มากขึ้นจะทำให้เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมเพิ่มขึ้น ผู้ที่เป็นโรคข้ออักเสบ ผลจากเยื่อบุข้ออักเสบทำให้เกิดการทำลายโครงสร้างของกระดูกอ่อน เช่น โรคข้อรูมาตอยด์ ผู้ที่เป็นโรคเก๊าท์ทำให้การรับส่งแรงของข้อเข่าเปลี่ยนแปลงไป ผู้ที่มีน้ำหนักมากทำให้เกิดแรงกดทับจากการรับน้ำหนัก ผู้ที่ใช้งานข้อเข่ามากเกินไป ทำให้แนวเข่าโก่งงอกว่าปกติ ผู้ที่ออกกำลังกายประเภทที่มีความเสี่ยง เช่น มีการกระแทกซ้ำ ๆ และรุนแรง ที่ข้อต่อเข่า ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บของข้อ และรวมถึงพันธุกรรมก็มีส่วน หากพบว่าบุคคลในครอบครัวเป็นข้อเข่าเสื่อมก็จะมีความเสี่ยงสูงที่บุคคลในครอบครัวคนอื่น ๆ จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมมากกว่าคนทั่วไป
จากข้อมูลผู้สูงอายุ ปี 2566 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าสาป หมู่ที่ 1, 2,3,4,5,6 พบว่าผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนใหญ่มีภาวะปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อม ซึ่งกลุ่มเหล่านี้อาจมีอาการที่รุนแรงขึ้นตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบภาวะข้อเข่าเสื่อมในกลุ่มผู้สูงอายุอายุ กลุ่มน้ำหนักเยอะ และกลุ่มที่มีอาชีพเกษตรกรรม ที่มีการเคลื่อนไหวอิริยาบถ ลุกนั่งยองๆ หากมีวิธีที่ช่วยบรรเทาหรือลดอาการเจ็บปวดจากภาวะข้อเข่าเสื่อม จะช่วยให้การดำเนินชีวิตประจำวันของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และกลุ่มที่ที่มีความเสี่ยงอื่นๆ เป็นไปอย่างราบรื่น อีกทั้งเป็นการลดภาระและค่าใช้จ่ายในการรักษาของญาติ หรือผู้ดูแล
    ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้ตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นตามมา หากกลุ่มต่าง ๆมีอาการที่รุนแรงตามมา ที่อาจส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ตามมา ตลอดจนการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมรุนแรง จนไม่สามารถเดินหรือทำกิจวัตรด้วยตนเอง เป็นต้นเหตุให้เกิดภาวะทุพพลภาพได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตัวเองและบุคคลในครอบครัวจากอาการของโรคข้อเข่าเสื่อมได้
  2. เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน นำมาใช้ในการดูแลตนเองจากอาการของโรคข้อเข่าเสื่อมได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรในชุมชน ในการรักษาอาการข้อเข่าเสื่อม และสมุนไพรในการ รักษาการเจ็บป่วยเบื้องต้น
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรในชุมชน ในการรักษาอาการข้อเข่าเสื่อม และสมุนไพรในการ รักษาการเจ็บป่วยเบื้องต้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถกดจุดพื้นฐานในการดูแลตัวเองและบุคคลในครอบครัวจากอาการของโรคข้อเข่าเสื่อม
  2. กลุ่มผู้เข้าร่วมอบรมสามารถใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนเพื่อการดูแลตนเองและคนรอบข้าง จากภาวะข้อเข่าเสื่อมได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตัวเองและบุคคลในครอบครัวจากอาการของโรคข้อเข่าเสื่อมได้
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน นำมาใช้ในการดูแลตนเองจากอาการของโรคข้อเข่าเสื่อมได้
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตัวเองและบุคคลในครอบครัวจากอาการของโรคข้อเข่าเสื่อมได้ (2) เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน นำมาใช้ในการดูแลตนเองจากอาการของโรคข้อเข่าเสื่อมได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรในชุมชน ในการรักษาอาการข้อเข่าเสื่อม และสมุนไพรในการ รักษาการเจ็บป่วยเบื้องต้น (2) อบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรในชุมชน ในการรักษาอาการข้อเข่าเสื่อม และสมุนไพรในการ รักษาการเจ็บป่วยเบื้องต้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการห่างไกลข้อเข่าเสื่อม ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ปี 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L8412-04-005

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซานียะห์ มะแงสะแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด