กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการการส่งเสริมการจัดการสุขภาพแบบองค์รวม ในเขตพื้นที่ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข และศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อประเมินผู้ป่วยเรื้อรัง-ติดเตียง-ผู้พิการ-ผู้สูงอายุ-ผู้ป่วยเรื้อรังระยะท้าย ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนโรคหลอดเลือดสมอง หัวใจ ไตวาย
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยระยะท้าย ได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพ
80.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสามารถควบคุมโรคเรื้อรังได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ผู้ป่วยเรื้อรังไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
80.00

 

3 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้กับแกนนำสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 90 ของแกนนำสุขภาพมีความรู้และทักษะในการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัว
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 180
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อประเมินผู้ป่วยเรื้อรัง-ติดเตียง-ผู้พิการ-ผู้สูงอายุ-ผู้ป่วยเรื้อรังระยะท้าย ได้รับการดูแลตามมาตรฐานวิชาชีพเฉพาะโรค และลดภาวะแทรกซ้อนโรคหลอดเลือดสมอง หัวใจ ไตวาย (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสามารถควบคุมโรคเรื้อรังได้อย่างเหมาะสม (3) 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้กับแกนนำสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 งานภาคประชาชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน (2) กิจกรรมที่ 2 งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ (3) กิจกรรมที่ 3 สร้างความตระหนักรู้ในการจัดการสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและแกนนำสุขภาพเพื่อเฝ้าระวังการเกิดโรคไตวายเรื้อรัง (4) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (5) ค่าอาหารเช้า (6) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (7) ค่าอาหารกลางวัน (8) ค่าตอบแทนวิทยากร (9) ค่าวัสดุ อุปกรณ์ในการจัดฐาน (10) ค่าโปสเตอร์โฟมบอร์ดความรู้โรคไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ (11) ค่าแฟ้มใส่เอกสารประวัติการตรวจรักษาผู้ป่วยเรื้อรัง (12) ค่าสติกเกอร์เตือนใจ รู้ไว ไปเร็ว ปลอดภัย จากโรคหลอดเลือดสมองติดที่บ้านผู้ป่วย (13) ค่านวัตกรรมกระเป๋าผ้ากันลืม (14) ค่าเครื่องวัดความเค็มในอาหารแบบพกพา (Salt Meter) (15) ค่าเครื่องตรวจวัดความเค็มในปัสสาวะ KME-03

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh