กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป


“ โครงการเด็กและเยาวชนท่าสาป รู้ทันภัยยาเสพติด ”

ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรียา อีแมทา

ชื่อโครงการ โครงการเด็กและเยาวชนท่าสาป รู้ทันภัยยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L8412-04-007 เลขที่ข้อตกลง 7/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กและเยาวชนท่าสาป รู้ทันภัยยาเสพติด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนท่าสาป รู้ทันภัยยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนท่าสาป รู้ทันภัยยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L8412-04-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขับเคลื่อนนโยบายยาเสพติดท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกในยุคศตวรรษที่ 21 และวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เป็นปัจจัยเร่งการเปลี่ยนแปลง ในทุกมิติหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเผชิญกับข้อจำกัดและความท้าทายหลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะ “การพัฒนา อย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยี” ที่มีพลวัตสูงและส่งผลกระทบต่อสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในทุกมิติความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีกระตุ้นให้เกิดการค้ายาเสพติดผ่านช่องทางออนไลน์การแสวงประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยีและนวัตกรรมในปัจจุบัน ทั้งการติดต่อสื่อสารการเงิน และการขนส่ง มีมากขึ้น กลุ่มนักค้ายาเสพติดสามารถปรับตัวและใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีโดยเฉพาะสื่อสังคมออนไลน์(Social Media) ที่ทำให้นักค้าและกลุ่มผู้เสพสามารถติดต่อสื่อสารและขยายเครือข่ายได้เพิ่มมากขึ้น ผู้เสพสามารถเข้าถึงยาเสพติดได้สะดวกมากขึ้น และลดความเสี่ยงในการถูกจับกุม โดยปัจจุบันพบว่ากลุ่มผู้ค้ายาเสพติดได้ใช้ช่องทางออนไลน์ควบคู่กับการส่งยาเสพติดทางพัสดุไปรษณีย์ในการกระจายยาเสพติดไปสู่กลุ่มผู้เสพมากขึ้น ซึ่งเด็กและเยาวชนยังเป็นกลุ่มเฝ้าระวังสูง แม้ว่าสัดส่วนของผู้ต้องหาคดีเสพและผู้เข้า บำบัดรักษายาเสพติดที่เป็นวัยเด็กและเยาวชนจะมีแนวโน้มลดลง แต่เมื่อพิจารณาจากข้อมูลคดีเด็กและเยาวชน จากกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน บ่งชี้ให้เห็นว่า สัดส่วนคดีเด็กและเยาวชนที่เกี่ยวกับยาเสพติดมีแนวโน้ม สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ การดำเนินคดีกับเด็กและเยาวชนเป็นคดีที่เกี่ยวกับยาเสพติด ถึงร้อยละ ๕๐ ในขณะที่สถิติการเข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน พบว่าในห้วง ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ ผู้เข้าบำบัดรายเก่ามีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะในช่วงอายุ ๒๐ - ๒๔ ปี ที่มีแนวโน้มในการเสพซ้ำมากที่สุด และประเภทยาเสพติดที่มีแนวโน้มการเข้าบำบัดสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ คือ เฮโรอีน นอกจากนี้การใช้ยาเสพติดประเภทผสมหลายชนิด (Drug Cocktails) เป็นอีกหนึ่งแนวโน้มที่ควร เฝ้าระวังในกลุ่มเด็กและเยาวชน     ข้อมูลผู้เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาในห้วงปี พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ จะพบสัดส่วนผู้เสพรายใหม่ เฉลี่ยกว่าร้อยละ ๘๐ ในขณะที่ผู้เสพรายเก่าที่เข้ารับการบำบัด ซ้ำยังมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่นับรวมผู้เสพจำนวนมากที่ยังไม่เข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและยังสามารถ หายาเสพติดมาเสพได้อย่างต่อเนื่องจนเกิดภาวะการเสพติดซ้ำ เสี่ยงต่อการเกิดอาการทางจิตเวชจากยาเสพติด ตลอดจนความเสี่ยงต่อการก่ออาชญากรรม และสร้างผลกระทบต่อสังคม ผู้เข้ารับการรักษาอาการทางจิตเวชอันเนื่องมาจากการเสพยาเสพติดมีแนวโน้มสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง ข้อมูลจากกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ในปีงบประมาณ    พ.ศ. ๒๕๖๓ มีผู้เข้ารับ การรักษาอาการจิตเวชจากยาเสพติดมากถึง ๔๗๔,๘๒๖ ราย เพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัวจากปีก่อนหน้า และเพิ่มขึ้น อย่างก้าวกระโดดจากปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่มีเพียง ๒๖,๓๐๘ ราย โดยปัจจุบันมีสัดส่วนอยู่ที่ประมาณร้อยละ ๑๘ จากจำนวนผู้เข้ารับการรักษาอาการทางจิตเวชทั้งหมด นอกจากนี้พบว่าสัดส่วนผู้เข้าบำบัดรักษายาเสพติด รายเก่ายังสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปีสืบเนื่องจากผลกระทบของการแพร่ระบาดยาเสพติดที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ในขณะที่ราคามีแนวโน้มถูกลง ผู้เสพจึงยังสามารถจัดหายาเสพติดมาเสพได้อย่างต่อเนื่อง อันจะนำไปสู่สภาวะ การเสพติดเรื้อรัง ซึ่งส่งผลให้เกิดอาการทางจิตเวชในที่สุด           จากข้อมูลการบำบัดยาเสพติดในพื้นที่ตำบลท่าสาป ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561 - 2564          มีจำนวนทั้งหมด 52 ราย ดังนี้ 32 ราย, 11 ราย, 7 ราย และ 2 ราย ตามลำดับ และในปี 2566 มีผู้ป่วย        Re X-ray จำนวน 16 ราย ผู้ป่วยที่เข้าศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคมรุ่นที่ 1 และรุ่นที่ 2 จำนวน 11 ราย            (ที่มา: ทะเบียนงานยาเสพติดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป) ที่ได้ผ่านกระบวนการบำบัดยาเสพติด นอกจากนี้ยังมีอีกหลายรายที่ยังไม่ได้เข้าสู่กระบวนการบำบัด ทั้งนี้อาจมีสาเหตุมาจากปัจจัยหลาย ๆ ปัจจัย เช่น ชนิดของสารเสพติด ปริมาณการเสพสารเสพติด และระยะเวลาในการเสพติด เป็นต้น อีกทั้งกลุ่มเสี่ยงที่จะเข้าสู่วงจรยาเสพติดโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่เป็นกลุ่มขนาดใหญ่ และเป็นกลุ่มที่มีคุณค่าอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ
          โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป ได้เห็นถึงความสำคัญของการป้องกันเด็กและเยาวชนหลงผิดเข้าสู่วงจรการซื้อขายยาเสพติด จึงได้จัดทำโครงการเด็กและเยาวชนท่าสาป รู้ทันภัยยาเสพติดเพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และรู้จักทักษะการปฏิเสธในการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงพิษภัยของยาเสพติด
  2. เพื่อส่งเสริมเด็กและเยาวชนมีทักษะในการปฏิเสธ หลีกเลี่ยงจากยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมสร้างแกนนำนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ตำบลท่าสาป
  2. ประชุมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงพิษภัยของยาเสพติด 2 เด็กและเยาวชนมีทักษะในการปฏิเสธ หลีกเลี่ยงจากยาเสพติด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงพิษภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อส่งเสริมเด็กและเยาวชนมีทักษะในการปฏิเสธ หลีกเลี่ยงจากยาเสพติด
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงพิษภัยของยาเสพติด (2) เพื่อส่งเสริมเด็กและเยาวชนมีทักษะในการปฏิเสธ หลีกเลี่ยงจากยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมสร้างแกนนำนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ตำบลท่าสาป (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กและเยาวชนท่าสาป รู้ทันภัยยาเสพติด จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L8412-04-007

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรียา อีแมทา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด