กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป


“ โครงการเด็กท่าสาปสุขภาพดีถ้วนหน้า ผู้ปกครองร่วมมือร่วมใจนำบุตรหลานมารับวัคซีน ปี 2567 ”

ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอะลีมะฮ์ เจ๊ะอาลี

ชื่อโครงการ โครงการเด็กท่าสาปสุขภาพดีถ้วนหน้า ผู้ปกครองร่วมมือร่วมใจนำบุตรหลานมารับวัคซีน ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L8412-04-010 เลขที่ข้อตกลง 11/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กท่าสาปสุขภาพดีถ้วนหน้า ผู้ปกครองร่วมมือร่วมใจนำบุตรหลานมารับวัคซีน ปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กท่าสาปสุขภาพดีถ้วนหน้า ผู้ปกครองร่วมมือร่วมใจนำบุตรหลานมารับวัคซีน ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กท่าสาปสุขภาพดีถ้วนหน้า ผู้ปกครองร่วมมือร่วมใจนำบุตรหลานมารับวัคซีน ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L8412-04-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ที่ผ่านมานั้นสถานการณ์ของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในประเทศไทยโดยเฉพาะโรคที่ สำคัญ เช่น โรคหัด โรควัณโรค โรคคอตีบ โรคจากไวรัสกลายพันธุ์นั่นคือ โรคโควิด2019 โคโรน่าไวรัส และล่าสุดที่ระบาดคือ โรคไอกรน จากปีงบประมาณ 2566พบผู้มารับบริการตรวจคัดกรองฉีดวัคซีน โดยรวมรายปี ประมาณ 417 รายต่อปี ในขณะที่พบผู้ป่วยโรคต่างๆที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น โรคไอกรน 4 ราย โรคหัด 3 ราย ซึ่งแสดงให้เห็นว่าโรคเหล่านี้เป็นโรคที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและอาจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ และโรคโคโรน่าไวรัส(โควิด 2019 )นั้นเป็นโรคระบาดที่แพร่กระจายไปทั่วโลก ซึ่งแพร่กระจายทางการไอจาม โดยการสัมผัสหรือสูดสิ่งคัดหลั่งเข้าไปในร่างกายทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตเสมือนโรคที่มีวัคซีนที่มีการให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในสถานบริการของรัฐและเอกชน รวมทั้งคลินิกต่างๆ และโรคโควิด2019เริ่มมีการคิดค้นพัฒนาวัคซีนป้องกัน ให้เกิดขึ้นเพื่อให้บริการต่อไป แม้ว่าทางกระทรวงสาธารณสุขจะมีการสนับสนุนวัคซีนป้องกันโรคดังกล่าวในเด็ก เพื่อเสริมสร้างให้เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรงมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดี กระทรวงสาธารณสุขได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันควบคุมโรคด้วยวัคซีน จึงริเริ่มแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตั้งแต่ปี พ.ศ.2520 จากระยะเวลาที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาปรับปรุงและขยายแผนงาน จนกระทั่งปัจจุบันมีวัคซีนที่เด็กควรได้รับจำนวน 8 ชนิด สำหรับป้องกันโรคทั้งหมด 12 โรค ได้แก่ วัคซีนป้องกันวัณโรค ตับอักเสบบี คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ฮิป โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน คางทูม และไข้สมองอักเสบ โรต้าวัคซีนลดความรุนแรงของอุจจาระร่วง โดยวัคซีนบางชนิดต้องได้รับมากกว่า 1 ครั้ง จึงจะสามารถป้องกันโรคได้ นอกจากนี้กระทรวงสาธารณสุขโดยการสนับสนุนของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้จัดให้มีบริการวัคซีนแก่เด็กแรกเกิดอย่างต่อเนื่องปจนถึงวัยเรียน ซึ่งเด็กทุกคนควรได้รับวัคซีนอย่างน้อยตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ซึ่งกระทรวงฯ ได้บริการให้ฟรี โดยเด็กทุกคนสามารถรับวัคซีนเหล่านี้ได้จากสถานพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง และควรรับวัคซีนให้ครบทุกช่วงอายุ
          ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาป ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี จึงได้จัดทำโครงการเด็กท่าสาปสุขภาพดีถ้วนหน้า ผู้ปกครองร่วมมือร่วมใจนำบุตรหลานมารับวัคซีน ปี 2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี (กลุ่มบ่ายเบี่ยงวัคซีน) มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  2. เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มีความตระหนักในการที่จะนำบุตรหลานมารับบริการวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมกลุ่มเป้าหมายได้แก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี หญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่3
  2. ประชุมกลุ่มเป้าหมายได้แก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี หญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. องค์กรในชุมชน ได้แก่ ผู้นำชุมชนผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาความครอบคลุมของวัคซีนเด็ก 0-5 ปี
  2. ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้ที่ถูกต้องและตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีนตามนัด มีการพัฒนาระบบบริการเพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายและเพิ่มประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  3. เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุร้อยละ 90
  4. เด็กที่ไม่ยอมรับวัคซีนได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี (กลุ่มบ่ายเบี่ยงวัคซีน) มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มีความตระหนักในการที่จะนำบุตรหลานมารับบริการวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 5 ปี (กลุ่มบ่ายเบี่ยงวัคซีน) มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (2) เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี (3) เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กที่มีอายุ 0-5 ปี มีความตระหนักในการที่จะนำบุตรหลานมารับบริการวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมกลุ่มเป้าหมายได้แก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี หญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่3 (2) ประชุมกลุ่มเป้าหมายได้แก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี หญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กท่าสาปสุขภาพดีถ้วนหน้า ผู้ปกครองร่วมมือร่วมใจนำบุตรหลานมารับวัคซีน ปี 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L8412-04-010

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอะลีมะฮ์ เจ๊ะอาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด