กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้


“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประกอบ จันทสุวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8402-1-06 เลขที่ข้อตกลง 6/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L8402-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,582.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever) เป็นโรคที่สามารถทำให้เสียชีวิตได้ โดยเกิดจากยุงลาย (Aedes aegypti) เป็นพาหะนำโรค ซึ่งเดิมเชื่อว่าโรคไข้เลือดออก มักจะระบาดในฤดูฝนเนื่องจากมีน้ำขังมากซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย แต่ปัจจุบันการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้เกิดการระบาดตลอดปี แต่ที่น่าเป็นห่วงคือ โรคไข้เลือดออกเกิดจากเชื้อไวรัส ไม่มีตัวยารักษา การรักษาจึงทำได้เพียงรักษาตามอาการ และโรคไข้เลือดออกสามารถเกิดได้กับประชาชนทุกเพศทุกวัย ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยจะส่งผลให้เกิดการรั่วของพลาสม่าเข้าในช่องเยื่อหุ้มปอด ในช่องท้อง ทำให้การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ส่งผลให้เกร็ดเลือดต่ำทำให้เลือดออกง่าย โดยอาจทำให้เกิดภาวะช๊อคและอาจเสียชีวิตได้ในที่สุด และเมื่อเกิดการเจ็บป่วยขึ้น ไม่เพียงแต่เกิดผลเสียต่อสุขภาพเท่านั้น ยังส่งผลเสียทางด้านเศรษฐกิจ เช่นการต้องหยุดงานขาดรายได้ เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เข้าออกโรงพยาบาลฯลฯ ซึ่งนับได้ว่าเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญยิ่งโรคหนึ่ง จากข้อมูลของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค พบว่าสถานการณ์โรคไข้เลือดออกระดับประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 13 มิถุนายน 2566 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทั้งหมด 6,156 ราย เสียชีวิต 4 ราย กลุ่มอายุที่พบมากที่สุดคือ 5- 14 ปี ในส่วนของจังหวัดสงขลาพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 333 ราย และจากข้อมูลระบาดวิทยา ย้อนหลัง 3 ปี ในพื้นที่ตำบลคูหาใต้ มีดังนี้ ปีพ.ศ. 2563 - 2565 มีจำนวนผู้ป่วย 8, 3, 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0.07, 0.02 ,0.02 ต่อแสนประชากร สำหรับปี พ.ศ. 2566 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม –  13 มิถุนายน มีจำนวนผู้ป่วย 7 ราย อัตราป่วย 0.06 ต่อแสนประชากร จะเห็นได้ว่าอัตราผู้ป่วยในแต่ละปีมีอัตราที่ไม่คงที่ลดลงและเพิ่มขึ้น จึงควรเร่งดำเนินการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไข้เลือดออก ประกอบกับตามอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตำบลตามมาตรา ๕๐ กล่าวว่าเทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาล ดังต่อไปนี้ (๔) ป้องกันและระงับโรคติดต่อ
ดังนั้น การดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดำเนินการอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ด้วยโรคไข้เลือดออกปัจจุบันได้เป็นโรคประจำถิ่นและสามารถเกิดการระบาดได้ตลอดทั้งปี โดยยังเป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรงสามารถส่งผลให้เกิดการเสียชีวิตได้ และส่งผลให้เกิดการสูญเสียทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ และสภาพจิตใจแก่ประชาชนในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค ในการนี้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคูหาใต้ ได้ตระหนักถึงความรุนแรงและอันตรายจากโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖7 ขึ้น เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค ยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคและแก้ไขปัญหาดังกล่าวตามข้างต้น เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลคูหาใต้
  2. เพื่อลดการสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด บ้านและชุมชน จัดกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตลอดปี โดยมีค่า HI และ CI ในแต่ละหมู่บ้านไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ๒. ค่า CI ในสถานที่ราชการ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และวัด ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ๓. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลคูหาใต้ ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
      (ตามเป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข) ๔. ไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เทศบาลตำบลคูหาใต้ ทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อรณรงค์ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลคูหาใต้
    ตัวชี้วัด : มีการรณรงค์ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลคูหาใต้
    80.00

     

    2 เพื่อลดการสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : มีลดการสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
    80.00

     

    3 เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด บ้านและชุมชน จัดกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    ตัวชี้วัด : มีรณรงค์ส่งเสริมให้โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด บ้านและชุมชน จัดกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    80.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลคูหาใต้ (2) เพื่อลดการสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด บ้านและชุมชน จัดกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L8402-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประกอบ จันทสุวรรณ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด