กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำชุมชนยกระดับความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวัง ป้องกันโรค นำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า


“ โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำชุมชนยกระดับความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวัง ป้องกันโรค นำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายเอกพงศ์ รอเกตุ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำชุมชนยกระดับความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวัง ป้องกันโรค นำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5293-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำชุมชนยกระดับความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวัง ป้องกันโรค นำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำชุมชนยกระดับความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวัง ป้องกันโรค นำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำชุมชนยกระดับความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวัง ป้องกันโรค นำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5293-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาสาสมัครมาลาเรียประจำหมู่บ้าน (อมม.), อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และ แกนนำชุมชน เป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาระบบป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงโดยมุ่งเน้น ความร่วมมือของชุมชนในการจัดการโรค ทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง อาสาสมัครประจำหมู่บ้านเป็นบุคคลที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ จึงเข้าใจปัญหาของคนในชุมชนเป็นอย่างดี สามารถตอบสนองความต้องการของชุมชน ได้อย่างแท้จริง วิธีการสำคัญที่ช่วยพัฒนาระบบป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงในชุมชน คือการสนับสนุนองค์ความรู้ทางวิชาการให้อาสาสมัครเหล่านั้นได้มีความรู้ เพิ่มพูนทักษะที่จำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน นอกจากนั้นยังทำให้เกิดความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่และชุมชนอีกด้วย

        สถานการณ์โรคไข้มาลาเรียของประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 – 30 กันยายน 2566 ประเทศไทยมีผู้ป่วยสะสม 1,963 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต เมื่อเทียบข้อมูลสถานการณ์การเกิดโรคในช่วงเวลาเดียวกันของปี 2565 มีแนวโน้มพบผู้ป่วยเพิ่มขึ้น อีกทั้งยังสูงกว่าปีที่แล้ว 3 เท่า มีรายงานกลุ่มบ้านแพร่เชื้อเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว ร้อยละ 63 (ข้อมูลระบบมาลาเรียออนไลน์, 2566) ส่วนสถานการณ์โรคไข้มาลาเรียในในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคีรีวงตั้งแต่เดือนตุลาคม 2566 – มกราคม 2567 พบผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่หมู่ที่ 9 บ้านราวปลาจำนวน 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 2.37 ต่อพัน สถานการณ์โรคติดต่อนำโดยแมลงในพื้นที่ยังมีแนวโน้มการระบาดอย่างต่อเนื่องตามลักษณะภูมิประเทศและสภาพสิ่งแวดล้อม รวมถึงปัจจัยก่อโรคต่างๆที่เอื้อต่อการเกิดโรค ดังนั้นการดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงร่วมกับภาคีเครือข่ายจึงมีความจำเป็น ที่จะต้องดำเนินการร่วมกันเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะที่จำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคีรีวง จึงได้จัดทำโครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำชุมชนยกระดับความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวัง ป้องกันโรค นำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ ผู้นำชุมชน ในเขตรพ.สต.บ้านคีรีวง เข้าร่วมอบรม
  2. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านและแกนนำชุมชนที่มีความรู้เพิ่มขึ้น
  3. เพื่อสำรวจลูกน้ำในหมู่บ้าน โรงเรียนสำนักสงฆ์ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ทุกเดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ ผู้นำชุมชน ในเขต รพ.สต.บ้านคีรีวง มีความรู้เกี่ยวกับโรคที่นำโดยแมลงมากขึ้น ครัวเรือน ชุมชนโรงเรียนได้รับการสำรวจลูกน้ำและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำอันจะส่งผลให้อัตราการเกิดโรคลดลง และหากเกิดการระบาดของโรคสามารถควบคุมสถานการณ์ได้อย่างทันเวลา


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ ผู้นำชุมชน ในเขตรพ.สต.บ้านคีรีวง เข้าร่วมอบรม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละการเข้าร่วมการอบรมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำชุมชน ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านและแกนนำชุมชนที่มีความรู้เพิ่มขึ้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำชุมชนที่มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังจากได้รับการอบรม ร้อยละ 80

     

    3 เพื่อสำรวจลูกน้ำในหมู่บ้าน โรงเรียนสำนักสงฆ์ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ทุกเดือน
    ตัวชี้วัด : .สำรวจลูกน้ำยุงลาย ค่า HI น้อยกว่า 10 ค่า CI เท่ากับ 0

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่ ผู้นำชุมชน ในเขตรพ.สต.บ้านคีรีวง เข้าร่วมอบรม (2) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านและแกนนำชุมชนที่มีความรู้เพิ่มขึ้น (3) เพื่อสำรวจลูกน้ำในหมู่บ้าน โรงเรียนสำนักสงฆ์ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ทุกเดือน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และแกนนำชุมชนยกระดับความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวัง ป้องกันโรค นำโดยแมลง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 67-L5293-01-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเอกพงศ์ รอเกตุ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด