กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเค็ม ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลบางดี
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางดี
วันที่อนุมัติ 15 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 24 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 1 ตุลาคม 2567
งบประมาณ 35,270.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายจรรยา รัตนแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางดี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.841,99.494place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมโรคที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายตอบแบบสอบถามความรู้เรื่องโรคภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมได้ถูกต้องผ่านเกณฑ์

2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมโรคที่เข้าร่วมโครงการมีการปฏิบัติพฤติกรรมที่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 60 มีค่าคะแนนการปฏิบัติพฤติกรรมที่เหมาะสมกับโรคอยู่ในระดับดี

3 เพือให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมโรคที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายตอบแบบสอบถามความรู้เรื่องมีความรู้เรื่องโรคโรคความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงได้ถูกต้องผ่านเกณฑ์

4 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมโรคที่เข้าร่วมโครงการมีการปฏิบัติพฤติกรรมที่เหมาะสมกับโรคความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 60 มีค่าคะแนนการปฏิบัติพฤติกรรมที่เหมาะสมกับโรคอยู่ในระดับดี

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถควบคุมโรคได้ดีขึ้น
  2. ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  3. เกิดระบบติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 เม.ย. 2567 10:40 น.